สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร)
หน่วยงานหลัก ส่วนกิจการเพื่อสังคม
หน่วยงานร่วม คณะเภสัชศาสตร์
ชื่อชุมชน
ชื่อผู้รับผิดชอบ รองศาสตราจารย์สุวรรณา วรรัตน์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ หมู่ที่ 7 63 ถนน รังสิต - นครนายก ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ นครนายก 26120
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา รองศาสตราจารย์วีระศักดิ์ สามี กรรมการ
รองศาสตราจารย์ฐาปนีย์ หงส์รัตนาวรกิจ กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สริน ทัดทอง กรรมการ
อาจารย์วิภาพร เสรีเด่นชัย กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชญานิศ ศรชัยธวัชวงศ์ กรรมการ
อาจารย์ดวงรัตน์ ชูวิสิฐกุล กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐพร อยู่ปาน กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรวินท์ พร่างแสงทอง กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มุทิตา หิรัญสาย กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พนิดา แจ่มผล กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทราวดี บูรณตระกูล กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุจิมน ตันวิเชียร กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา มานะกิจ กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชรวีร์ นันท์ธนะวานิช กรรมการ
อาจารย์ธนู ทองนพคุณ กรรมการ
นางจุลี เนียมเนตร กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ลลิตา วีระเสถียร กรรมการ
อาจารย์ภัทรสุดา ไชยสุภา กรรมการ
อาจารย์ภัทรวิทย์ รักษ์ทอง กรรมการ
นายสมชาย หลวงสนาม กรรมการ
นายณรงค์ มูลศรี กรรมการ
รองศาสตราจารย์ชุดา จิตตสุโภ กรรมการและเลขานุการ
นางสาวพิชญ์ญาภัค เจียมจรัสโชค กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
นางสาวณัฐณิชา อาษานอก กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
นางสาวชยาภา อ่อนศรี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
การติดต่อ 026495000
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2562
งบประมาณ 550,620.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
นครนายก องครักษ์ องครักษ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของสมุนไพรหรือสารจากธรรมชาติได้รับความนิยมมากขึ้นเนื่องจากผู้บริโภคเชื่อว่าสามารถทำให้เกิดความสะอาด และความสวยงามต่อร่างกาย และมีความปลอดภัยกว่าการใช้สารเคมี ทำให้การผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางโดยวิสาหกิจชุมชนเพื่อประกอบอาชีพแพร่หลายขึ้น อย่างไรก็ตาม จากการสุ่มตัวอย่างผลิตภัณฑ์จำนวน 20 รายการ และนำมาตรวจสอบคุณภาพทางด้านกายภาพ และจุลชีววิทยา พบว่าผลิตภัณฑ์ประมาณร้อยละ 10 ไม่ผ่านการทดสอบและจากการออกตรวจประเมินสถานที่ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายกพบว่าสถานที่ผลิตเครื่องสำอางหลายแห่งยังไม่ได้มาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ในปี พ.ศ. 2557-2561 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดำเนินโครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและวิสาหกิจชุมชน ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด และสอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมการใช้สมุนไพร โดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างยั่งยืน จัดอบรมให้ความรู้ ให้คำปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ให้บริการตรวจการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์และวิเคราะห์หาปริมาณสารสำคัญในผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นไปตามแนวนโยบายการยกระดับมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางวิสาหกิจชุมชนของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข จากการประเมินผลการดำเนินการของโครงการพบว่าอยู่ในระดับที่น่าพอใจ มีจำนวนผู้ประกอบการที่ให้ความสนใจจำนวน และมีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน เพื่อสานต่องานบริการวิชาการแก่ชุมชนโดยมุ่งเน้นไปที่การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้แก่ชุมชนให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและอย่างยั่งยืน ปี พ.ศ. 2562-2566 คณะเภสัชศาสตร์มีความประสงค์ที่จะจัดโครงการบริการวิชาการต่อยอดจากโครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและวิสาหกิจชุมชน จึงมีความจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน โดยคณะเภสัชศาสตร์มีความพร้อมทางด้านองค์ความรู้ของคณาจารย์ นักวิจัย และนิสิต มีหลักสูตรการศึกษาและประสบการณ์ที่จะเป็นปัจจัยที่เอื้อให้คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สามารถดำเนินการโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย SSOSWU SSOSWU เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 15:31 น.