สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการกระบวนการจัดการนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อเป็นเศรษฐกิจชุมชนต้นแบบ จังหวัดกาฬสินธุ์

โครงการกระบวนการจัดการนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อเป็นเศรษฐกิจชุมชนต้นแบบ จังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการกระบวนการจัดการนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อเป็นเศรษฐกิจชุมชนต้นแบบ จังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน บ้านท่าเรือภูสิงห์ ตาบลภูสิงห์ อาเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุกัญญา ดวงอุปมา
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 มิถุนายน 2562 - 14 มิถุนายน 2562
งบประมาณ 42,100.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ ภูสิงห์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
การจัดการนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อเป็นเศรษฐกิจชุมชนต้นแบบ จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางสาหรับการพัฒนาปรับปรุงการวางแผนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนต้นแบบกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน การพึ่งพาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่ความยั่งยืนต่อไป
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นอีกจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ในด้านการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการเลี้ยงปลา ในบริเวณพื้นที่ เขื่อนลาปาว ซึ่งปัจจุบันมีการเพราะเลี้ยงปลาในบริเวณเขื่อนลาปาวเป็นจานวนมากขึ้น ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่เสริมสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ซึ่งในแต่ละวันมีจานวนปริมาณปลาที่ได้จากเขื่อนลาปาว ด้วยวิธีการธรรมชาติ และการเพาะเลี้ยงเป็นจานวนมาก ทาให้การขายนั้นมีหลากหลายวิธี ในขณะเดียวกันนั้น ก็มีปลาจานวนมากที่ไม่สามารถขายได้ทันความต้องการของตลาด จึงทาให้ชาวบ้านมีการแปรรูปผลผลิตจากปลา ได้หลากหลายรูปแบบ การประยุกต์จากภูมิปัญญาชาวบ้านที่ทาการแปรรูปเพื่อให้ได้ผลผลิต การเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยซึ่งมีการสะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงชีวิต สภาพความเป็นอยู่ ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ ความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่องจึงทาให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นยังคงอยู่มาจนทุกวันนี้ ปัจจุบันคนในชุมชนสามารถผลิตการแปรรูปปลา เพื่อจาหน่ายในบริเวณพื้นที่เขื่อนลำปาว ภายในจังหวัดกาฬสินธุ์ นั้นยังมีปัญหาเริ่มตั้งแต่ปัจจัยการผลิต กระบวนการผลิต ส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพที่แตกต่างกัน ขาดคุณภาพ และความปลอดภัย และยังไม่มีการบริหารจัดการกลุ่มที่เป็นรูปธรรมชัดเจนจากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการ จึงสนใจที่จะดาเนินการบริการวิชาการโครงการกระบวนการจัดการนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อเป็นเศรษฐกิจชุมชนต้นแบบ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของคนในชุมชนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ การจัดการนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อเป็นเศรษฐกิจชุมชนต้นแบบ จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางสาหรับการพัฒนาปรับปรุงการวางแผนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนต้นแบบกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน การพึ่งพาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่ความยั่งยืนต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:42 น.