สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นเป็นอาหารสัตว์

การใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นเป็นอาหารสัตว์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นเป็นอาหารสัตว์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ นายนพรัตน์ ผกาเชิด
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 เมษายน 2562 -
งบประมาณ 30,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นเขตพื้นที่ที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศที่มีการทำเกษตรปศุสัตว์การเลี้ยงโคเนื้อ ซึ่งจากการรายงานของกรมปศุสัตว์จังหวัดกาฬสินธุ์ปี พ.ศ. 2558 พบว่า พื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์มีเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อจำนวน 14,702 ครัวเรือน และมีจำนวนโคเนื้อรวม 56,102 ตัว ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มาก ในปัจจุบันพบว่าการเลี้ยงโคจะประสบกับปัญหาต้นทุนการผลิตหรือการเลี้ยงมีแนวโน้มที่สูงขึ้น เนื่องมาจากวัตถุดิบที่ใช้เป็นอาหารสัตว์ถูกนำไปใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนมากขึ้น ซึ่งปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงสัตว์คือ ต้นทุนค่าอาหารคิดเป็นประมาณ 70 -80 % ของต้นทุนทั้งหมดในการเลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคต้องปรับตัวเพื่อลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น จึงจำเป็นต้องหาวัตถุดิบทดแทนที่มีปริมาณมากในท้องถิ่นและราคาถูกมาใช้เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหารสัตว์ ซึ่งในจังหวัดกาฬสินธุ์มีการปลูกมันสำปะหลังเป็นจำนวนมาก หัวมันสำปะหลังคือหนึ่งวัตถุดิบที่ใช้เป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสัตว์ ในการปลูกมันสำปะหลังนอกจากจะได้ผลผลิตหัวมันสำปะหลังแล้ว ยังมีใบมันสำปะหลังเป็นเศษเหลือหลังจากเก็บผลผลิต ซึ่งสามารถนำใบมันสำปะหลังมาใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ได้ นอกจากนี้ ยังมีผลพลอยได้หรือเศษเหลือจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีอยู่มากในท้องถิ่นและมีราคาต่ำ เช่น เปลือกมันสำปะหลังล้าง กากมันสำปะหลัง สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหารสัตว์ในการเลี้ยงโคที่จะช่วยแก้ไขปัญหาในสภาวะวัตถุดิบอาหารสัตว์ขาดแคลน หรือมีราคาสูงขึ้น ดังนั้น ถ้ามีการใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นเป็นอาหารสัตว์ก็จะทำให้ต้นทุนค่าอาหารสัตว์ลดลงได้
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นเขตพื้นที่ที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศที่มีการทำเกษตรปศุสัตว์การเลี้ยงโคเนื้อ ซึ่งจากการรายงานของกรมปศุสัตว์จังหวัดกาฬสินธุ์ปี พ.ศ. 2558 พบว่า พื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์มีเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อจำนวน 14,702 ครัวเรือน และมีจำนวนโคเนื้อรวม 56,102 ตัว ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มาก ในปัจจุบันพบว่าการเลี้ยงโคจะประสบกับปัญหาต้นทุนการผลิตหรือการเลี้ยงมีแนวโน้มที่สูงขึ้น เนื่องมาจากวัตถุดิบที่ใช้เป็นอาหารสัตว์ถูกนำไปใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนมากขึ้น ซึ่งปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงสัตว์คือ ต้นทุนค่าอาหารคิดเป็นประมาณ 70 -80 % ของต้นทุนทั้งหมดในการเลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคต้องปรับตัวเพื่อลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น จึงจำเป็นต้องหาวัตถุดิบทดแทนที่มีปริมาณมากในท้องถิ่นและราคาถูกมาใช้เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหารสัตว์ ซึ่งในจังหวัดกาฬสินธุ์มีการปลูกมันสำปะหลังเป็นจำนวนมาก หัวมันสำปะหลังคือหนึ่งวัตถุดิบที่ใช้เป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสัตว์ ในการปลูกมันสำปะหลังนอกจากจะได้ผลผลิตหัวมันสำปะหลังแล้ว ยังมีใบมันสำปะหลังเป็นเศษเหลือหลังจากเก็บผลผลิต ซึ่งสามารถนำใบมันสำปะหลังมาใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ได้ นอกจากนี้ ยังมีผลพลอยได้หรือเศษเหลือจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีอยู่มากในท้องถิ่นและมีราคาต่ำ เช่น เปลือกมันสำปะหลังล้าง กากมันสำปะหลัง สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหารสัตว์ในการเลี้ยงโคที่จะช่วยแก้ไขปัญหาในสภาวะวัตถุดิบอาหารสัตว์ขาดแคลน หรือมีราคาสูงขึ้น ดังนั้น ถ้ามีการใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นเป็นอาหารสัตว์ก็จะทำให้ต้นทุนค่าอาหารสัตว์ลดลงได้

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:21 น.