สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การพัฒนานวัตกรรมการผลิตปุ๋ยเกษตรอินทรีย์เพื่อยกระดับวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน

การพัฒนานวัตกรรมการผลิตปุ๋ยเกษตรอินทรีย์เพื่อยกระดับวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การพัฒนานวัตกรรมการผลิตปุ๋ยเกษตรอินทรีย์เพื่อยกระดับวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม สำนักงานเกษตรอำเภอสหัสขันธ์และพัฒนาชุมชนบ้าน
ชื่อชุมชน วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแก้งนคร
ชื่อผู้รับผิดชอบ ดร.บุญสิริ ปิตตาแสง
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมเครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ที่อยู่ 150 ถนนศรีจัทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 1. 1410400091415 ดร.บุญสิริ ปิตตาแสง สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมเครื่องกล โทร 096-6740450 อาจารย์
2. 1499900016372 ดร.พิสิฐชัย โคสะสุ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ โทร 091-8354452 อาจารย์
3. 1420900094944 นายกฤษฎา นามวงษ์ สาขาวิชาวิศวกรรมท่ออุตสาหกรรม โทร 095-2257952 อาจารย์
4. 34101000582141 นางสาวปัทมาเกสร์ ราชธานี สนง.วิทยาเขต โทร 088-5621484 เจ้าหน้าที่
5. 1409901474625 นายปุณณฤทิธิ์ วงษ์ปัจฉิม สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมเครื่องกล TME3R ชั้นปี 3 โทร 096-9104321 นักศึกษา
6. 1419901775528 นายชัยภัทร ตองอ่อน สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมเครื่องกลTME3R ชั้นปี 3 โทร 094-7514955 นักศึกษา
7. 1490700053446 นายอภิสิทธิ์ ไชยกุฉิน สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมเครื่องกล TME3R ชั้นปี 3 โทร 097-2254099 นักศึกษา
8. 1139600056029 นายภานุเดช สิงห์เดช สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมเครื่องกล TME3R ชั้นปี 3 โทร 097-0484673 นักศึกษา
9. 1401300070344 นางสาวเมธิณี มูลเทพ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ TIE3N ชั้นปี 3 โทร 095-6570613 นักศึกษา
10. 1420300121151 นางสาวศันสนีย์ สืบสาย สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ TIE3N ชั้นปี 3 โทร 092-9343584 นักศึกษา
11. 1409901550313 นางสาวจันทร์จิรา จินดารักษ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีท่ออุตสาหกรรม IPT4N ชั้นปี 4 โทร 088-0273892 นักศึกษา
12. 1409901636714 นายศิวดล จำปาหวาย สาขาวิชาเทคโนโลยีท่ออุตสาหกรรม IPT4N ชั้นปี 4 โทร 089-5711769 นักศึกษา
การติดต่อ โทรศัพท์ 086-8575-175 E-mail : Pidtasang
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563
งบประมาณ 500,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ นิคม place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
บ้านแก้งนคร หมู่ 7 ตำบลนิคม อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ หมู่บ้านตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอสหัสขันธ์ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ 3 กม อาชีพหลักของคนในชุมชนได้แก่ ทำนา ทำไร่ และประมง
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
เนื่องจากพื้นที่แถบนี้นิยมเพาะปลูก อ้อย มันสำประหลัง ยางพารา และข้าว เป็นอาชีพหลักของเกษตรกร แต่เนื่องด้วยศักยภาพของชุมชนทำให้เกิดข้อจำกัดในด้านแหล่งทุนในการใช้ปุ๋ยที่ได้จากสารเคมี ดังนั้นกลุ่มเกษตรจึงมีการร่วมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ขึ้นมาใช้ทดแทนปุ๋ยที่ได้จากสารเคมี
ข้อมูลประเด็นปัญหา
1.ปัญหาระดับต้นน้ำ ขาดองค์ความรู้ในกรรมวิธีการเติมแร่ธาตุในปุ๋ยอินทรีย์ในขันตอนระหว่างการหมัก
2.ปัญหาระดับกลางน้ำ ขาดเครื่องจักรกลที่ใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์
3.ปัญหาระดับปลายน้ำ ขาดช่องทางในการจำหน่ายสินค้าหรือช่องทางการส่งเสริมทางการตลาดแบบสมัยใหม่
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
1.ต้องการพัฒนากระบวนการเติมแร่ธาตุในปุ๋ยอินทรีย์ระหว่างขั้นตอนการหมัก เพื่อยกระดับมาตรฐานของการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้มีปริมาณแร่ธาตุตามสัดส่วนที่พืชต้องการเช่น ปรับปรุงกระบวนการ เติมแร่ธาตุประกอบหลัก หรือหาสัดส่วนที่เหมาะสมของปริมาณแร่ธาตุในปุ๋ยอินทรีย์
2. ต้องการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ยเช่น เครื่องหมักปุ๋ยและกากของวัชพืช เพื่อลดต้นทุนในกระบวนการการผลิตและบรรจุภัณฑ์
3. ยังขาดองค์ความรู้ด้านการตลาดแบบออนไลน์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการขายผลผลิตที่ได้

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ด้านวิศวกรรมการออกแบบและสร้างเครื่องจักร ด้านมาตรฐานการผลิต ด้านการออกแบบบรรจุบรรจุภัณฑ์ ด้านการตลาดออนไลน์

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ปุ๋ยอินทรี คือสารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บแร่ธาตุจากธรรมชาติ ซึ่งได้จาก ดิน เศษไม้ เศษหญ้า ขยะ วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร และมูลสัตว์ ที่สำคัญปุ๋ยอินทรีย์สามารถนำมาใช้ในการช่วยบำรุงพืชผลทางการเกษตรหรือใช้เพาะปลูกในภาคเกษตรกรรม เช่น ใช้บำรุง ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา อ้อย ไม้สวน และไม้ปะดับ อื่น ๆ เป็นต้น
พืชผลทางการเกษตร เป็นพืชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยใช้บริโภคภายในประเทศ และส่งออก ได้แก่ ข้าว แป้งมันสำปะหลัง ยางพารา น้ำตาลทราย และไม้ประดับบางชนิด โดยเป็นแหล่งสร้างงานแก่เกษตรกรชาวไร่ ชาวนาทั่วประเทศ และแรงงานในภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้องมากกว่า 10 ล้านคน และปลูกในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากกว่า 63 ล้านไร่ ครอบคลุม 20 จังหวัดในภาคอีสาน (ผลสำรวจเบื้องต้น ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2562 สำนักงานเศษกิจการเกษตร) และเป็นพื้นที่เพาะปลูกมากที่สุดในประเทศ แต่ปัจจุบันการพืชผลทางการเกษตรของกลุ่มเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประสบปัญหาในเรื่องของภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง น้ำท่วม และ อื่น ๆ ซึ่งส่งผลให้พืชผลทางการเกษตรเกิดความเสียหา และไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ จากปัญหาดังกล่าว ยังเกิดผลพวงส่งผลให้เกิดโรคระบาดกับมีแมลงศัตรูพืชเพิ่มสูงขึ้น นั้นหมายถึงต้นทุนในการเพาะปลูกและการบำรุงรักษาจากค่ายาฆ่าแมลง และสารเคมีเพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด และเมื่อถึงฤดูของการเก็บเกี่ยวผลผลิตก็เกิดการขาดดุลทางการค้า จากราคาที่ตกต่ำสุดในรอบ 5 ปี เช่น อ้อย ข้าว ยางพารา ดังนั้นการแก้ไขปัญหาและหาแนวทางออกร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ชุมชนร่วมกับกลุ่มเกษตรกรจึงเป็นประเด็นสำคัญในปัจจุบัน เพื่อฟื้นฟูและยกระดับของกลุ่มเกษตรให้กลับมามีความมั่นคง มั่งคั่ง และศักยภาพที่เข้มแข็งในการดำเนินธุรกิจต่อไป
ดังนั้นคณะกลุ่มทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น จึงได้ศึกษาข้อมูลจากกลุ่มเกษตรที่อยู่ในจังหวัดกาฬสินธุ์ และพื้นที่ใกล้เคียงนำมาวิเคราะห์ เพื่อหาแนวทางแก้ไข ซึ่งพบว่าทางออกที่ดี คือหน่วยงานจากภาครัฐควรสนับสนุน และเร่งส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรมีองค์ความรู้ ทักษะความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการบริหารจัดการทรัพยากรได้ด้วยตัวเองในระยะยาวเพื่อส่งเสริมกรรมวิธีในการเพิ่มปริมาณผลผลิตทางการเกษตร ลดค่าใช้จ่ายด้านต้นทุนการผลิต และสนับสนุนให้เกิดการแปรรูปเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ของเสีย และมูลสัตว์ ให้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ทดแทนการใช้ปุ๋ยที่ได้จากสารเคมีโดยตรง เพื่อช่วยยกระดับของเกษตรกรในพื้นที่ให้เกิดการพัฒนาการทำเกษตรได้อย่างยั่งยืน และเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนเกิดรายได้ ที่สำคัญยังช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากการทำลายชั้นหน้าดินที่เกิดจากการใช้สารเคมีในปัจจุบัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการวิจัย และสร้างเทคโนโลยีนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา เพื่อเพิ่มช่องทางเลือกให้แก่เกษตรกรในชุมชน โดยมีแผนบูรณาเรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการผลิตปุ๋ยเกษตรอินทรีย์เพื่อยกระดับวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นโครงการบูรณาการที่หาช่องทางเลือกให้กับกลุ่มเกษตรในจังหวัดพื้นที่กาฬสินธุ์ โดยโครงการมีการจัดการปัญหาที่ระดับต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ด้วยต้นแบบเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเป็นการส่งเสริมการนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มูลสัตว์กลับมาเพิ่มมูลค่า เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรในชุมชนอย่างยั่งยืน

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน find_in_page
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย boosiri boosiri เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 18:53 น.