สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการการใช้ความรู้พื้นฐานทางบัญชี สร้างวิถีการออมและเสริมสร้างค่านิยมการใช้จ่ายเงิน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในอำเภอเมืองสมเด็จ ในจังหวัดกาฬสินธุ์

โครงการการใช้ความรู้พื้นฐานทางบัญชี สร้างวิถีการออมและเสริมสร้างค่านิยมการใช้จ่ายเงิน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในอำเภอเมืองสมเด็จ ในจังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการการใช้ความรู้พื้นฐานทางบัญชี สร้างวิถีการออมและเสริมสร้างค่านิยมการใช้จ่ายเงิน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในอำเภอเมืองสมเด็จ ในจังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร ตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ นายทยากร สุวรรณปักษ์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 กรกฎาคม 2561 -
งบประมาณ 25,400.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
นักเรียนในโรงเรียนถือเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว หน้าที่หลักคือศึกษาเล่าเรียน นอกจากนี้ยังสามารถที่จะคอยช่วยเหลือพ่อแม่ ในการจัดการการเงินของครอบครัวได้ โดยสามารถจัดทำรายงานข้อมูลรายรับ – รายจ่ายในครอบครัว เพื่อได้รับรู้การใช้เงินของครอบครัว รู้ว่าครอบครัวกำลังใช้เงินในการจัดทำอะไรไปบ้างในแต่ละเดือน ในแต่ละเดือนมีเงินเหลือเท่าไหร่หรือมีเงินไม่พอใช้ หากนักเรียนได้มีโอกาสในการจัดทำข้อมูลก็จะทำให้เกิดจิตสำนึกในการจ่ายเงิน เห็นคุณค่าของเงิน มีผลให้เกิดความตระหนักในการใช้จ่ายเงินตั้งแต่เด็กและสามารถที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีวินัยในการใช้จ่ายเงินในอนาคต
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

การจัดทำบัญชีในครัวเรือนถือเป็นเรื่องสำคัญที่จะเยาวชนควรที่จะเรียนรู้ เพื่อปลูกฝังให้เห็นถึงรายรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นในครอบครัว นอกจากนี้ยังสามารถให้มองเห็นถึงค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปในสิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ที่ดีในครอบครัวซึ่งเป็นที่มาให้ครอบครัวสามารถที่จะลดรายได้ดังกล่าวได้ มีผลทำให้ตระหนักถึงเรื่องการออมเงิน การวางแผนใช้จ่ายเงิน การทำบัญชีรับ – จ่าย การส่งเสริมวินัยการออม สร้างนิสัยประหยัดอดออม ทั้งนี้เพื่อเป็นการใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังไม่ประมาทและมีการเตรียมพร้อมที่จะเผชิญปัญหาที่จะเข้ามาในการดำเนินชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักยึดในกระบวนการต้านทานและแก้ไขปัญหา ในแนวทางดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมการจัดทำบัญชี ครัวเรือน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชุมชน ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนที่เข้าอบรมนำความรู้ที่ได้ไปใช้และปลูกฝังใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป นักเรียนในโรงเรียนถือเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว หน้าที่หลักคือศึกษาเล่าเรียน นอกจากนี้ยังสามารถที่จะคอยช่วยเหลือพ่อแม่ ในการจัดการการเงินของครอบครัวได้ โดยสามารถจัดทำรายงานข้อมูลรายรับ – รายจ่ายในครอบครัว เพื่อได้รับรู้การใช้เงินของครอบครัว รู้ว่าครอบครัวกำลังใช้เงินในการจัดทำอะไรไปบ้างในแต่ละเดือน ในแต่ละเดือนมีเงินเหลือเท่าไหร่หรือมีเงินไม่พอใช้ หากนักเรียนได้มีโอกาสในการจัดทำข้อมูลก็จะทำให้เกิดจิตสำนึกในการจ่ายเงิน เห็นคุณค่าของเงิน มีผลให้เกิดความตระหนักในการใช้จ่ายเงินตั้งแต่เด็กและสามารถที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีวินัยในการใช้จ่ายเงินในอนาคตค ดังนั้นสาขาวิชาชีพบัญชีจึงเล็งเห็นความสำคัญกับการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนได้ใช้ความรู้ทางบัญชี สร้างวิถีการออมและเสริมสร้างค่านิยมการใช้จ่ายเงิน ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นโครงการเพื่อให้เยาวชน ได้มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนเห็นความสำคัญและประโยชน์จากการจัดทำบัญชีอย่างง่ายในครอบครัว และนำข้อมูลที่ได้จัดทำมาวิเคราะห์ รายรับรายจ่ายและเงินคงเหลือในแต่ละเดือน เพื่อจะนำไปใช้ในการออมเงินได้ ถือเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการเก็บออม เพื่ออนาคตวันข้างหน้า เกิดความรักและความสามัคคีในครอบครัว อีกทั้งยังเป็นประสบการณ์ตรงสำหรับตัวแทนนักศึกษาที่ร่วมโครงการ ให้สามารถนำความรู้ที่เรียนในรายวิชาหลักการบัญชีไปช่วยพัฒนาครอบครัวและชุมชนให้เกิดความยังยืนต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 15:57 น.