สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ต.คลองขุด อ.เมือง จ.สตูล

โครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ต.คลองขุด อ.เมือง จ.สตูล

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ต.คลองขุด อ.เมือง จ.สตูล
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา
หน่วยงานหลัก สาขาวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ทักษิณ สงขลา
หน่วยงานร่วม เทศบาลตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
ชื่อชุมชน 7 หมู่บ้านใน ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
ชื่อผู้รับผิดชอบ นามสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิสากร กล้าณรงค์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ทักษิณ สงขลา
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภรัตน์ พิณสุวรรณ กรรมการ
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรุตม์ นาที กรรมการ
4. นายฉลอง แก้วประเสริฐ กรรมการ
5. นางสาวสมสมัย เอียดคง กรรมการ
6. นางสาวพรพิมล ลครวงษ์ กรรมการ
7. อาจารย์ ดร. วราภรณ์ ทนงศักดิ์ กรรมการและเลขานุการ
การติดต่อ 0862970303
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 50,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สตูล เมืองสตูล คลองขุด place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ไม่มีความรู้ในการจัดเก็บข้อมูลชุมชน
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ระบบการจัดเก็บข้อมูลตามหลักวิชาการ เพื่อการท่องเที่ว

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ในการประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจจังหวัดสตูล (กรอ. จังหวัด) ครั้งที่ 3/2561 วันที่ 22 มิถุนายน 2561 ณ ห้องประชุมโต๊ะพญาวัง ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดสตูล ประธานหอการค้าจังหวัดสตูล ได้นำเสนอโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ตำบลปูยู-ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล โดยได้มีการเสนอโปรแกรมการท่องเที่ยวอเมซิ่ง อันดามัน : เขาจีน ตำมะลัง ปูยู เกาะยาว ตันหยงโป สตูล เพื่อจะใช้การท่องเที่ยวเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัดสตูล แต่ยังขาดข้อมูลความรู้ทางวิชาการของพื้นที่ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และชุมชนเองก็ขาดองค์ความรู้ด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล ขณะที่ตำบลปูยู มีข้อมูลความรู้เกี่ยวกับพื้นที่เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ได้รับความร่วมมือจากสาขาวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณซึ่งเกิดจากการนำนิสิตทั้งในระดับปริญญาโท และปริญญาตรี ศึกษาภาคสนามรายวิชาต่าง ๆ การทำวิจัยของคณาจารย์ การจัดโครงการบริการวิชาการ และ โครงการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรมในพื้นที่ตำบลปูยูต่อเนื่องมากว่า 10 ปี ดังนั้น ประธานหอการค้าจังหวัดสตูล จึงขอความอนุเคราะห์มายังสาขาวิชาภูมิศาสตร์ในการให้ความรู้และกระบวนการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบตามหลักวิชาการให้กับพื้นที่ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
ทางสาขาวิชาภูมิศาสตร์ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการถ่ายทอดความรู้ การบริการวิชาการ และสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นให้ก่อประโยชน์ต่อชุมชน และ สามารถบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชาฯที่เน้นชุมชนเป็นฐาน จึงได้จัดโครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวขึ้น

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 15:42 น.