สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แนวทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามแนวพระราชดำริ เพื่อการสร้างอาชีพที่ยั่งยืน

แนวทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามแนวพระราชดำริ เพื่อการสร้างอาชีพที่ยั่งยืน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ แนวทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามแนวพระราชดำริ เพื่อการสร้างอาชีพที่ยั่งยืน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน กลุ่มเกษตรบ้านโคกแง้ ตำบลเขาพระนอน อำเภอยางตลาด กลุ่มอนุรักษ์พันธุกรรมพืชพื้นบ้าน และกลุ่มบริหารจัดการน้ำชุมชน เครือข่ายมูลนิธิอุทกพัฒน์ ตำบลนาคู อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ นางสาวิภา รัตนกร
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาเทคโนโลยีการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาเทคโนโลยีการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษ
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 มิถุนายน 2562 -
งบประมาณ 30,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด เขาพระนอน place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างแพร่หลายและมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี สัตว์น้ำเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยง เช่น ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปลาดุก ปลาหมอไทย เป็นต้น ซึ่งการที่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจะประสบผลสำเร็จได้ เป็นผลมาจากปัจจัยหลายอย่างได้แก่ พันธุ์สัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ คุณภาพน้ำ วิธีการเลี้ยง รวมถึงสภาพแวดล้อม ทั้งนี้หากเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในปัจจัยต่างๆ ย่อมนำมาซึ่งความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจุบันแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 ที่มุ่งเน้นให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ พออยู่ พอกิน และพอเพียงในการใช้ชีวิตเป็นแนวคิดที่เกษตรกรให้ความสนใจและหันมาปฏิบัติตามมากขึ้นในการประกอบอาชีพ โดยเฉพาะอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่แต่จากเดิมเกษตรกรมีเพาะเลี้ยงแล้วจำหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง แต่ปัจจุบันมีเกษตรกรส่วนหนึ่งได้หันมาใช้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในอาชีพโดยเริ่มตั้งแต่การเพาะเลี้ยงจนถึงการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่าย ซึ่งศาสตร์ในการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารก็เป็นอีกด้านที่เกษตรกรพึงมี เพื่อสร้างรายได้เพิ่มให้กับครอบครัวนอกเหนือจากการจำหน่ายในรูปแบบสดเท่านั้น ดังนั้นการถ่ายทอดความรู้ตั้งแต่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจนถึงการแปรรูปสัตว์น้ำจึงเป็นการสร้างอาชีพให้เกิดความยั่งยืนและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำต่อไป
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างแพร่หลายและมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี สัตว์น้ำเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยง เช่น ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปลาดุก ปลาหมอไทย เป็นต้น ซึ่งการที่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจะประสบผลสำเร็จได้ เป็นผลมาจากปัจจัยหลายอย่างได้แก่ พันธุ์สัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ คุณภาพน้ำ วิธีการเลี้ยง รวมถึงสภาพแวดล้อม ทั้งนี้หากเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในปัจจัยต่างๆ ย่อมนำมาซึ่งความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจุบันแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 ที่มุ่งเน้นให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ พออยู่ พอกิน และพอเพียงในการใช้ชีวิตเป็นแนวคิดที่เกษตรกรให้ความสนใจและหันมาปฏิบัติตามมากขึ้นในการประกอบอาชีพ โดยเฉพาะอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่แต่จากเดิมเกษตรกรมีเพาะเลี้ยงแล้วจำหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง แต่ปัจจุบันมีเกษตรกรส่วนหนึ่งได้หันมาใช้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในอาชีพโดยเริ่มตั้งแต่การเพาะเลี้ยงจนถึงการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่าย ซึ่งศาสตร์ในการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารก็เป็นอีกด้านที่เกษตรกรพึงมี เพื่อสร้างรายได้เพิ่มให้กับครอบครัวนอกเหนือจากการจำหน่ายในรูปแบบสดเท่านั้น ดังนั้นการถ่ายทอดความรู้ตั้งแต่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจนถึงการแปรรูปสัตว์น้ำจึงเป็นการสร้างอาชีพให้เกิดความยั่งยืนและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 15:21 น.