directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 9

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 9
ภายใต้โครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (13 เขต)
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 200,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
ผู้รับผิดชอบโครงการ รองศาสตร์จารย์อุทิศ ทาหอม ,ดร.สำราญ ธุระตา,นายสงกา สามารถ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 083-1281012
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ songka_samart@hotmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายสงกา สามารถ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดบุรีรัมย์
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2565 30 ก.ย. 2567 200,000.00
รวมงบประมาณ 200,000.00
stars
3. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้แก่ ยาสูบ สุราและสิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทาง กาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ โดยอาศัยกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
4. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้แก่ ยาสูบ สุราและสิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทาง กาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ โดยอาศัยกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ (ระดับตำบล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของกระทรวง สาธารณสุข สสส. และ สปสช. ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพ

stars
5. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ระดับตำบล ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผล โครงการ ภายใต้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

 

2 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

 

stars
6. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 570
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงานระดับเขต 5 -
ประชาชนในเขตพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์จากก 500 -
ผู้บริหารท้องถิ่น คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 50 -
ผู้อำนวยการ รพ.สต. เจ้าหน้าที่ รพ.สต. ในเขตตำบลทั้ 15 -
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 แผนสนับสนุนการดำเนินงานของกลไกคณะทำงาน/ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต(1 ต.ค. 2565-31 พ.ค. 2567) 29,250.00                                                
2 แผนการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการ(1 ธ.ค. 2565-30 มิ.ย. 2567) 80,750.00                                                
3 แผนการติดตามสนับสนุนการจัดทำข้อมูลแผนงาน และพัฒนาโครงการ(1 ม.ค. 2566-30 มิ.ย. 2567) 70,000.00                                                
4 แผนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนากองทุนตำบล(1 ม.ค. 2566-30 มิ.ย. 2567) 20,000.00                                                
รวม 200,000.00
1 แผนสนับสนุนการดำเนินงานของกลไกคณะทำงาน/ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 25 29,250.00 3 23,834.00
6 - 7 ธ.ค. 65 ประชุมคณะทำงาน/พี่เลี้ยงเขต เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตาม ความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 (ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานกับผู้บริหารท้องถิ่นและคณะกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพท้องถิ่นกองทุนฯ เป้าหมาย 5 กองทุนในพื้นที่เ 5 9,750.00 14,521.00
25 มี.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน พี่เลี้ยงกองทุน ครั้งที่ 2 เพื่อวางแผนการสนับสนุนการจัดทำข้อมูลแผนงานของกองทุนฯ 5 ตำบล จ.บุรีรัมย์ 10 9,750.00 9,313.00
11 มิ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน/พี่เลี้ยงเขต เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตาม ความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 3 10 9,750.00 0.00
2 แผนการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 80,750.00 4 41,125.00
27 ม.ค. 66 ประชุมชี้แจงเป้าหมายและแผนการดำเนินงาน และการเก็บข้อมูลสุขภาวะ 20 19,500.00 20,331.00
4 มี.ค. 66 เวทีพัฒนาศักยภาพ Admin เพื่อบันทึกข้อมูลแผนงาน โครงการในระบบเว็บไซต์ 20 16,000.00 20,794.00
29 เม.ย. 66 ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 20 16,000.00 0.00
10 - 11 มิ.ย. 66 เวทีพัฒนาศักยภาพคณะทำงานเพื่อพัฒนาโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์ 20 29,250.00 0.00
3 แผนการติดตามสนับสนุนการจัดทำข้อมูลแผนงาน และพัฒนาโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 150 70,000.00 2 50,000.00
28 ม.ค. 66 - 20 ก.พ. 66 การติดตามสนับสนุนการเก็บข้อมูล การจัดทำแผนงาน 100 50,000.00 50,000.00
30 เม.ย. 66 - 30 พ.ค. 66 ติดตามสนับสนุนการจัดทำโครงการ การพัฒนาโครงการเพื่อของบประมาณกองทุนตำบล 50 20,000.00 0.00
4 แผนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนากองทุนตำบล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 20,000.00 0 0.00
1 - 30 ส.ค. 66 ประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานและทิศทางการพัฒนากองทุนตำบล 20 20,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กองทุนเป้าหมายมีการจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนงานในประเด็นยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้แก่ อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต ซึ่งจะต้องมีการจัดทำให้ได้แผนงานอย่างน้อย 2 แผนงาน
  2. กองทุนเป้าหมายจัดทำการพัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่สอดคล้องแผนงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต และเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ อย่างน้อยกองทุนฯ ละ 2 โครงการ
  3. พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของ กองทุนฯ ละ 2 คน
  4. กองทุนเป้าหมายมีการใช้ website ระบบการจัดการบริหารกองทุนฯ ที่ใช้ในการพัฒนาแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพ อุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต
  5. เกิดการการบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและได้ข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2565 16:37 น.