สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง
  1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 7 ภาคส่วน
  2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
  4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
  5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. เกิดข้อมูลอย่างน้อย 5 ด้าน คือ
    • สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอำเภอเมืองระนอง
    • ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • แนวโน้มความรุนแรง
    • กลไกหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง
    • แนวทางแก้ไขและแผนปฏิบัติการโครงการ ของหน่วยงานและแผนปฏิบัติการร่วม
  2. เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพถูกบรรจุในวาระของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองระนอง
  3. เกิดอนุกรรมการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพอำเภอเมืองระนอง
    • ร้อยละ 80 ของจำนวนกองทุนฯมีความตระหนักในเรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • ร้อยละ 20 ของจำนวนกองทุนฯ มีการขับเคลื่อนเรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่
  1. เกิดข้อมูลด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ
    • จำนวนประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ผลกระทบจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ทัศนคติ ความรู้ ของประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ชนิด ประเภท ความถี่ ของพฤติกรรมการทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • สาเหตุ ปัจจัย ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
  2. เกิดงานวิชาการ 1 เล่ม
  3. เกิดการนำเสนอต่อฝ่ายนโยบายของจังหวัดระนอง
เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน
  2. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านแรงงานนอกระบบและปัจจัยเสี่ยง 40,000.00 20 4 40,000.00 4 59,090.00 more_vert
18 พ.ค. 61 ประชุมทีมสร้างความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเด็นแรงงานนอกระบบที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 10 - -
21 มิ.ย. 61 ประชุมปรึกษาหารือเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง 27 - -
20 ก.ค. 61 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นครั้งที่ 1 20 - -
20 ส.ค. 61 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นครั้งที่ 2 20 - -
2 พัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 71,000.00 20 - - - - more_vert
3 พัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่ 37,000.00 900 - - - - more_vert
4 หนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 52,000.00 0 11 64,380.00 9 32,701.00 more_vert
5 ม.ค. 61-30 มี.ค. 62 บริหารจัดการ 0 - -
21 ก.พ. 61 เวทีแลกเปลี่ยนและเสนอแนะแนวทางการสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติ 3 - -
8 พ.ค. 61-1 ก.พ. 62 การจัดรายการวิทยุ และการลงFacebook-LINE 200 - -
8-9 พ.ค. 61 ติดตามความก้าวหน้าผลดำเนินโครงการครั้งที่1 3 - -
10 พ.ค. 61 ประชุมแกนประสานงานก่อนการประชุมแต่ละกิจกรรมครั้งที่1 12 - -
19 พ.ค. 61 ประชุมร่วมคณะทำงานเครือข่ายประชาคมงดเหล้าจังหวัดระนอง 20 - -
30 ส.ค. 61 เวทีเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 30 - -
6 ก.ย. 61 ประชุมแกนประสานงานกับทีมประเมินโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง 13 - -
10 ก.พ. 62 ประชุมแกนประสานงานก่อนการประชุมแต่ละกิจกรรมครั้งที่3 12 - -
8 มี.ค. 62 กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงาน 2 - -
10-12 เม.ย. 62 ติดตามผลการดำเนินงานเเละตรวจเอกสารการเงิน 2 - -

กิจกรรมย่อยที่ยังไม่กำหนดกิจกรรมหลัก

12 ก.ค. 2561 ประชุมแกนประสานงานก่อนการประชุมแต่ละกิจกรรมครั้งที่2 12 6000.00
10 ก.ย. 2561 ประชุมจัดทำข้อมูลพื้นฐานแรงนอกระบบและปัจจัยเสี่ยงของพื้นที่ 4 ตำบลนำร่อง 20 11000.00
20 พ.ย. 2561 ประชุมสร้างความเข้าใจหน่วยงานด้านสุขภาพระดับอำเภอและกองทุนฯตำบล 50 20000.00
19 ธ.ค. 2561 จัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาวะตำบลและแผนปฏิบัติการกองทุนตำบล 25 15000.00
14 มี.ค. 2562 เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานของตำบลนำร่อง 50 15000.00
29 มี.ค. 2562 การจัดรายการวิทยุ และการลงFacebook-LINE 200 5000.00
26 เม.ย. 2562 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยงในระดับกองทุนตำบล 500 22000.00
รวม 200,000.00 940 22 198,380.00 20 200,466.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (200,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (198,380.00 บาท)