สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 4

ประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต (ครั้งที่ 2)20 กรกฎาคม 2563
20
กรกฎาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ภานิชา เขต 4
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ทบทวนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต เขต 4
    1.1 ทบทวนวัตถุประสงค์โครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพกลไกร่วมของสสส. สปสช. (กองทุนฯ) และ สธ. (พชอ.) ในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับพื้นที่ โดย 1) อำเภอ (พชอ.) มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของอำเภอ โดยเป็นแผน เชิงประเด็น ที่รวบรวมจากแผนของกองทุนสุขภาพตำบล (เช่น แผนการจัดการเหล้าระดับอำเภอ เป็นการบูรณาการแผนจัดการเหล้าของกองทุนตำบลทั้งหมดในอำเภอ) 2) แต่ละแผนเชิงประเด็นของกองทุนแต่ละกองทุน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และเป็นโครงการที่ สามารถลดปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน 3) มีระบบติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงทบทวนแผนและโครงการต่าง ๆ 1.2 กลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการในกองทุนตำบล 1) กลุ่ม 1 กองทุนตำบลทั้งอำเภอ ขับเคลื่อนร่วมกับพชอ.
    • พชอ. บางใหญ่  จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 8 กองทุนฯ) • พชอ. บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 7 กองทุนฯ)
    • พชอ. วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง (จำนวน 16 กองทุนฯ) • พชอ. แก่งคอย สระบุรี (จำนวน 13 กองทุนฯ) • พชอ. อำเภอหนองแค (จำนวน 19 กองทุนฯ)
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ทบทวนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต เขต 4
    1.1 ทบทวนวัตถุประสงค์โครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพกลไกร่วมของสสส. สปสช. (กองทุนฯ) และ สธ. (พชอ.) ในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับพื้นที่ โดย 1) อำเภอ (พชอ.) มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของอำเภอ โดยเป็นแผน เชิงประเด็น ที่รวบรวมจากแผนของกองทุนสุขภาพตำบล (เช่น แผนการจัดการเหล้าระดับอำเภอ เป็นการบูรณาการแผนจัดการเหล้าของกองทุนตำบลทั้งหมดในอำเภอ) 2) แต่ละแผนเชิงประเด็นของกองทุนแต่ละกองทุน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และเป็นโครงการที่ สามารถลดปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน 3) มีระบบติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงทบทวนแผนและโครงการต่าง ๆ 1.2 กลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการในกองทุนตำบล 1) กลุ่ม 1 กองทุนตำบลทั้งอำเภอ ขับเคลื่อนร่วมกับพชอ.
    • พชอ. บางใหญ่  จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 8 กองทุนฯ) • พชอ. บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 7 กองทุนฯ)
    • พชอ. วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง (จำนวน 16 กองทุนฯ) • พชอ. แก่งคอย สระบุรี (จำนวน 13 กองทุนฯ) • พชอ. อำเภอหนองแค (จำนวน 19 กองทุนฯ) 2) กลุ่ม 2 กองทุนตำบลที่มีเงินสะสม • เทศบาลนครนนทบุรี
    • เทศบาลนครปากเกร็ด 3) กลุ่ม 3 กองทุนตำบล ที่มีภารกิจถ่ายโอน • เทศบาลตำบลบางนมโค 1.3  ขั้นตอนการดำเนินงาน 1) การทำความเข้าใจ พชอ (กลุ่ม1) 2) การพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผน กก.กองทุน /ผู้รับผิดชอบกองทุนระดับจังหวัด (กลุ่ม1 /2/3) 3) การพัฒนาศักยภาพ การเขียนโครงการ (กลุ่ม1 / 2 /3) 4) การติดตามประเมินผล (กลุ่ม1 / 2 /3) 5) ประชุมหารือ พชอ. สรุปผล/วางแผน  (กลุ่ม1)
  2. รายงานผลการดำเนินงาน ขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับจังหวัด
    การดำเนินงานของเขต 4 มีการทำงานใน 2 รูปแบบ
    รูปแบบที่ 1 กองทุนที่ยังไม่มีแผน  กลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการ 1) พชอ. แก่งคอย สระบุรี (จำนวน 13 กองทุนฯ) 2). พชอ. อำเภอหนองแค (จำนวน 19 กองทุนฯ) 3)พชอ. วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง (จำนวน 16 กองทุนฯ) โดยเป็นการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงาน/โครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) มีกระบวนการดำเนินงาน 1) มีการสร้างความเข้าใจและการเชื่อมร้อยเครือข่าย การทำงานท้องถิ่น การสร้างความสำคัญ  เช่น การมอบใบประกาศเมื่อเสร็จสิ้นการประชุม 2) มีเครื่องมือที่ชัดเจน เช่นการจัดทำคู่มือ 3) กระบวนการกลุ่ม :  ทบทวนการบริหารจัดการกองทุน โดยการคืนข้อมูลเงินคงเหลือในกองทุน และให้นายอำเภอ ช่วยชี้แนะ เชิญชวนทำโครงการตามประเด็น พชอ.  องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาแผนงาน /โครงการ
    -การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพด้วย แผนผังต้นไม้ปัญหา เป็นเครื่องมือช่วยเื่อมโยงปัญหาสุขภาพ สาเหตุของปัญหา และผลกระทบ -กรอบความเชื่อมโยงของหัวข้อต่างๆในการเขียนโครงการ  เครื่องมือโปรแกรมการพัฒนาโครงการ รูปแบบที่ 2 กองทุนที่มีแผนแล้ว กลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการ 1) พชอ. บางใหญ่  จังหวัดนนทบุรี
    (จำนวน 8 กองทุนฯ) 2) พชอ. บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 7 กองทุนฯ)  เน้นการใช้ เครื่องมือโปรแกรมการพัฒนาโครงการให้มีคุณภาพ ในกลุ่มเป้าหมายที่รับการสนับสนุนงบจากกองทุน   ข้อเสนอเชิงพัฒนาโปรแกรม 1.การใช้โปรแกรมกลุ่มเป้าหมายควรเป็นใคร  ระดับการใช้แตกต่างกัน

- อปท.และคนที่เกี่ยวข้อง พัฒนา แผน/ติดตามประเมินผล - กลุ่มคนที่ต้องการขอสนับสนุน เน้นการพัฒนาโครงการ /การติดตามประเมินผล
2.เครื่องมือในเชิงพัฒนา ประโยชน์ /ง่ายไม่ซับซ้อน /เขื่อมโยงกับงานเดิม 3. การสรุปแผนงาน/โครงการเพื่อเชื่อมโยงและตอบประเด็น พชอ. 3. แผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไก    สุขภาวะ เขต 4  ในระยะต่อไป 1. ทบทวนการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล
2. การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานการพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนงบ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดยให้ดำเนินการบันทึกแผนงานโครงการในโปรแกรม โดยเน้นโครงการที่ผ่านการอนุมัติ และมีการจัดกิจกรรมตามโครงการของ ปี 2563 ในโปรแกรมเพื่อการติดตามประเมินผล และใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาโครงการ ของปีงบประมาณ 2564  ส่วนรูปแบบการดำเนินงานให้ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัดวางแผนการดำเนินงานตามบริบทของตนเอง อาจเน้นการลงพื้นที่รายกองทุนตำบลหรือจัดการประชุมติดตามภาพรวมของจังหวัด