สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 4

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

การประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต 14 ม.ค. 2563 14 ม.ค. 2563

 

ชี้แจงทำความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ กระบวนการและผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ร่วมวางแผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด •สร้างทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด •ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อร่วมทำความเข้าใจต่อแนวทางขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัดที่เชื่อมโยงกับ การขับเคลื่อนประเด็นของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.) และการใช้งานโปรแกรมการทำแผน (การพัฒนาข้อเสนอ และการติดตามประเมินผลโครงการ) •การดำเนินงานสนับสนุนให้พื้นที่มีโครงการที่ลดปัจจัยเสี่ยงและประเด็นความต้องการอื่นของพื้นที่ •การประชุมเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด

 

1.  คณะทำงานได้ร่วมวางแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ  ระดับพื้นที่  เขต 4    โดยกำหนดให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับจังหวัด โดยมีกรอบของการจัดกิจกรรมดังนี้ในช่วงระหว่าง เดือน  มกราคม – พฤษภาคม 2563  ซึ่งแต่ละจังหวัดกลุ่มเป้าหมายจะเป็นผู้ดำเนินการจัด     1)  จัดกิจกรรมที่นำไปสู่การบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ซึ่งประกอบไปด้วย กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจต่อการบูรณาการขับเคลื่อนงานสุขภาวะ และเสริมศักยภาพบุคลากรด้านการพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ให้มีกรอบระยะเวลาของการจัดกิจกรรม มกราคม- สัปดาห์ที่ 1 ของเดือนมีนาคม 2563
สาระสำคัญที่ควรมีในการประชุม; •ชี้แจงทำความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ กระบวนการและผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ •ความรู้ความเข้าใจต่อแนวทางการบูรณาการแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น แผนปฏิบัติงานสาธารณสุขประจำปี กับทิศทางตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนระดับอำเภอ (ประเด็นจากกลไก พชอ.)
•ความรู้ความเข้าใจต่อการจัดทำโครงการที่มีคุณภาพ  การใช้งานเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล ( https://localfund.happynetwork.org/) พัฒนาแผนงาน/โครงการ เพื่อเป็นพี่เลี้ยงภาคีเครือข่ายต่างๆในการจัดทำโครงการที่ขอสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมถึงการติดตามประเมินผล
•สรุปแผนงาน/โครงการที่ขับเคลื่อนตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและการควบคุมกำกับติดตาม

 

ประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับพื้นที่ 24 ม.ค. 2563 24 ม.ค. 2563

 

ร่วมวางแผนการขับเคลื่อนการจัดกิจกรรมเพื่อบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับจังหวัด (ภาพร่วม 3 กิจกรรม)

 

ร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจต่อการบูรณาการขับเคลื่อนงานสุขภาวะ และเสริมศักยภาพบุคลากรด้านการพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น สร้างทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด ของจังหวัดนนทบุรี
1. ร่วมกำหนดเนื้อหาการประชุม (ประเด็นการบรรยายและกระบวนการกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติ) 2. วางแผนการประสานงานกลุ่มเป้าหมาย 3. การจัดเตรียมสถานที่การประชุมรองรับการฝึกปฏิบัติระบบออนไลด์ 4. การบริหารงบในกิจกรรม

 

การประชุมเชิงปฎิบัติการโครงการบูรณาการการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ 12 ก.พ. 2563 12 ก.พ. 2563

 

ความรู้ความเข้าใจต่อแนวทางการบูรณาการแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น แผนปฏิบัติ งานสาธารณสุขประจำปี กับทิศทางตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนระดับอำเภอ (ประเด็นจากกลไก พชอ.)

 

1)บูรณาการแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น แผนปฏิบัติงานสาธารณสุขประจำปี กับทิศทางตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
2)การใช้งานเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล(https://localfund.happynetwork.org/  พัฒนาแผนงาน/  โครงการ  และเป็นพี่เลี้ยงภาคีเครือข่ายต่างๆในการจัดทำโครงการที่ขอสนับสนุนงบกองทุนหลักประกัน สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

 

ประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอในการจัดทำแผนงาน/โครงการของกองทุนฯ 20 ก.พ. 2563 20 ก.พ. 2563

 

-บทบาทของ พชอ.กับการหนุนเสริมและบูรณาการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ -บรรยาย “สถานการณ์ปัญหาปัจจัยเสี่ยงสุขภาพและโรคเรื้อรังในชุมชน” -บรรยาย “การใช้โปรแกรมออนไลน์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเขียนโครงการที่ดี”

 

ประกอบไปด้วย 19 กองทุนฯ ดังนี้ 1. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.กุ่มหัก 2. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.คชสิทธิ์ 3. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.โคกตูม-โพนทอง 4. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.โคกแย้ 5. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.บัวลอย 6. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองแขม 7. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองไข่น้ำ 8. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองจรเข้ 9. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองจิก 10. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองนาก 11. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองปลาหมอ 12. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองปลิง 13. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หนองโรง 14. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ห้วยขมิ้น 15. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ห้วยทราย 16. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลหนองแค 17. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลหินกอง 18. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลคชสิทธิ์ 19. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลไผ่ต่ำ ปัญหาสุขภาพ
1. ปัญหาสภาพอากาศมลภาวะ อากาศน้ำ และเขตอุตสาหกรรม
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
3. โรคอุบัติใหม่
4. ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ
5. พฤติกรรมการบริโภค หวาน เค็ม ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ และไม่สวมหมวกกันน็อค ฯลฯ สิ่งดีๆ
1. ประชาชนมีสุขภาพดีและมีความสุข
2. มีงบประมาณที่เพียงพอ
3. สามารถแก้ไขปัญหาในชุมชนและดูแลคนในชุมชน
4. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม เช่น โรงเรียน รพ.สต. เป็นต้น
ความคาดหวัง
1. ชุมชนมีความเข้มแข็ง
2. มีนวัตกรรมใหม่ๆในกองทุนฯ
3. มีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทำ และทุกภาคส่วนมีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้
4. มีการผลักดันบุคลากรให้มีความรู้การจัดการกองทุนฯ
5. มีการประชาสัมพันธ์กองทุนในเชิงรุก 6. มีความร่วมมือที่เป็นรูปประธรรมของหน่วยงานที่เขียนโครงการมาของประมาณ
7. หน่วยงานตรวจชี้แนะ หาวิธีแก้ไขในข้อผิดพลาดในสำนักงาน
ปัญหา
1. ไม่กล้าทำ เนื่องจากสำนักงานถูกตรวจสอบและมีระเบียบที่ไม่ชัดเจน
2. คณะกรรมการไม่รู้หน้าที่และไม่ตระหนัก
3. มีการเปลี่ยนแปลงเจ้าหน้าที่บ่อย ทำให้ อบต.กับ รพ.สต. งานไม่เดิน
4. อบต กับ รพ.สต. ขัดแย้งกันในหน่วยงาน ไม่ร่วมมือกัน และไม่ชัดเจน
5. เงินค้างจ่าย
6. ไม่สนใจในการเขียนโครงการแต่อยากได้เงิน
7. กองทุนเปลี่ยนระเบียบบ่อย
วิธีการบริหารกลุ่มงาน
1. ประชุมคณะกรรมการอย่างต่อเนื่อง
2. คณะกรรมการขาดความเข้าใจและความรู้
3. ดึงทุกภาคส่วนมาร่วมมือ เรียนรู้ ปฏิบัติตามระเบียบ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4. มีงบประมาณอย่างต่อเนื่อง
5. อบรม
6. มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ
7. ลดขั้นตอนการใช้งบประมาณ
8. มีทีมติดตาม
แนวทางแก้ไข
1. ใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเชิงรุกอย่างต่อเนื่องให้มากขึ้น
3. ขอความร่วมมือปฏิบัติ
4. ให้ความรู้สร้างความเข้าใจกับประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลงมือปฏิบัติ
5. มีอุปกรณ์ให้ประชาชนออกกำลังกาย

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ในการจัดทำแผนงาน/โครงการฯ 24 ก.พ. 2563 25 ก.พ. 2563

 

-บทบาทของ พชอ.กับการหนุนเสริมและบูรณาการกองทุนหลักประกันสุขภาพ -บรรยาย “การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพอย่างมีส่วนร่วม พื้นที่ พชอ.วิเศษชัยชาญ -ประชุมกลุ่ม 4 กลุ่ม “วิเคราะห์สถานการณ์/ปัญหาสุขภาพในชุมชน เชื่อมโยงประเด็น พชอ.วิเศษชัยชาญ” (สถานการณ์ปัญหา/สาเหตุ/สิ่งที่ทำได้ดี/สิ่งที่ยังทำได้ไม่ดี/แนวทางแก้ไข)

 

-การใช้โปรแกรมออนไลน์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเขียนโครงการที่ดี -สรุปประเด็นภาพรวมของ พชอ.พื้นที่อำเภอวิเศษชัยชาญ -จัดทำแผนการขับเคลื่อนและออกแบบประเมินผล

 

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างศักยภาพในการจัดทำแผนงาน/โครงการที่มีประสิทธิผลของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 12 มี.ค. 2563 13 มี.ค. 2563

 

ทบทวนหลักการและแนวทางการบริหารจัดการกองทุน วิเคราะห์สถานการณ์/ปัญหาสุขภาพในชุมชน” (สถานการณ์ปัญหา/สาเหตุ/สิ่งที่ทำได้ดี/สิ่งที่ยังทำได้ไม่ดี/แนวทางแก้ไข การใช้โปรแกรมออนไลน์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเขียนโครงการที่ดี เรียนรู้/ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนฯ

 

ประกอบไปด้วย 13 กองทุนฯ ดังนี้ 1. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ชะอม 2. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ชำผักแพว 3. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ตาลเดี่ยว 4. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.เตาปูน 5. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ท่าตูม 6. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ท่ามะปราง 7. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.บ้านป่า 8. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.สองคอน 9. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ห้วยแห้ง 10. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หินซ้อน 11. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองแก่งคอย 12. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองทับกวาง 13. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ท่าคล้อ ปัญหาการเจ็บป่วย 1
1. เกิดจากพันธุกรรม
2. สิ่งแวดล้อมเช่นมลพิษทางอากาศและสารเคมี
3. พฤติกรรมการอยู่อาศัย การกิน ประมาท ไม่ออกกำลังกายเฉพาะบุคคลเอง
4. ประชาชนรู้เท่าไม่ถึงการณ์ประมาทในการดำรงชีพ อยากเห็น
1. สามารถแก้ไขปัญหาชุมชนได้จริง
2. ให้ความรู้
3. ตรงตามวัตถุประสงค์
4. มีประสิทธิภาพสัมฤทธิ์ผล 5. มีแผนการการดำเนินงานที่ชัดเจนแผนงานของโครงการที่ดี
6. สนับสนุนงบประมาณกลุ่มองค์กรมากขึ้น
7. มีการสร้างเครือข่ายในการสร้างเสริมสุขภาพ
8. คณะกรรมการการบริหารมีการขับเคลื่อนงานที่มีศักยภาพ และให้ความสำคัญในการป้องกันโรค
9. คณะกรรมการมีความเข้มแข็ง
ความภาคภูมิใจ
1. ได้ใช้จ่ายงบประมาณตรงตามวัตถุประสงค์ เพื่อร่วมดูแลคุณภาพชีวิต
2. คณะกรรมการให้ความร่วมมือในการประชุมจัดกิจกรรมให้ความสำคัญกับกองทุนฯและมีเงินช่วยเหลือตรงกลางงบประมาณกองทุน
3. ประชาชนเสนอโครงการที่ดี และปฏิบัติในพื้นที่ในการขอรับงบประมาณ และได้รับประโยชน์ในด้านสุขภาพมีกิจกรรมใหม่ๆร่วมกัน
4. สามารถแก้ไขปัญหาในท้องที่ช่วยเหลือผู้ป่วยและคนพิการ
ปัญหา
1. การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ในบางประเด็น
2. มีองค์กรขอรับงบสนับสนุนน้อยงบประมาณเหลือเยอะ
3. บางคนยังไม่เข้าใจกองทุนหลักประกันสุขภาพ
4. การจัดการคณะกรรมการยังไม่มีความรู้ ในบางคนไม่รู้หน้าที่ การใช้เงินสนับสนุน ยังทำได้ไม่เข้าที่ติดระเบียบฯ
จะทำอะไร 1. ณรงค์ให้ความรู้มลพิษทางอากาศและอาหารการกิน
2. ประชาสัมพันธ์ในการดูแลสุขภาพ
3. จัดทำแผนงาน และการติดตามในพื้นที่
4. สร้างกลุ่มขยายการดำเนินงาน และช่วยกันดูแลใกล้ชิดชาวบ้าน
แนวทางแก้ไข
1. คณะกรรมการร่วมคิด ร่วมโครงการ
2. สร้างความรู้ความเข้าใจบทบาทที่มีต่อกองทุนฯ 3. การติดตามประเมินผลแก่ประชาชน
4. แต่ละกลุ่มให้การดำเนินงานร่วมมืออย่างจริงจังมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีแผนดำเนินงาน ทำงานติดตามแผนตามเงื่อนไข สปสช. เข้าใจบทบาทหน้าที่และประชาชนมีส่วนร่วมต่อตนเองและกองทุนฯ 5. สร้างเครือข่าย
6. มีพี่เลี้ยงแนะนำ

 

ประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต (ครั้งที่ 2) 16 ก.ค. 2563 20 ก.ค. 2563

 

  1. ทบทวนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต เขต 4
    1.1 ทบทวนวัตถุประสงค์โครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพกลไกร่วมของสสส. สปสช. (กองทุนฯ) และ สธ. (พชอ.) ในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับพื้นที่ โดย 1) อำเภอ (พชอ.) มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของอำเภอ โดยเป็นแผน เชิงประเด็น ที่รวบรวมจากแผนของกองทุนสุขภาพตำบล (เช่น แผนการจัดการเหล้าระดับอำเภอ เป็นการบูรณาการแผนจัดการเหล้าของกองทุนตำบลทั้งหมดในอำเภอ) 2) แต่ละแผนเชิงประเด็นของกองทุนแต่ละกองทุน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และเป็นโครงการที่ สามารถลดปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน 3) มีระบบติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงทบทวนแผนและโครงการต่าง ๆ 1.2 กลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการในกองทุนตำบล 1) กลุ่ม 1 กองทุนตำบลทั้งอำเภอ ขับเคลื่อนร่วมกับพชอ.
    • พชอ. บางใหญ่  จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 8 กองทุนฯ) • พชอ. บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 7 กองทุนฯ)
    • พชอ. วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง (จำนวน 16 กองทุนฯ) • พชอ. แก่งคอย สระบุรี (จำนวน 13 กองทุนฯ) • พชอ. อำเภอหนองแค (จำนวน 19 กองทุนฯ)

 

  1. ทบทวนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต เขต 4
    1.1 ทบทวนวัตถุประสงค์โครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพกลไกร่วมของสสส. สปสช. (กองทุนฯ) และ สธ. (พชอ.) ในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับพื้นที่ โดย 1) อำเภอ (พชอ.) มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของอำเภอ โดยเป็นแผน เชิงประเด็น ที่รวบรวมจากแผนของกองทุนสุขภาพตำบล (เช่น แผนการจัดการเหล้าระดับอำเภอ เป็นการบูรณาการแผนจัดการเหล้าของกองทุนตำบลทั้งหมดในอำเภอ) 2) แต่ละแผนเชิงประเด็นของกองทุนแต่ละกองทุน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และเป็นโครงการที่ สามารถลดปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน 3) มีระบบติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงทบทวนแผนและโครงการต่าง ๆ 1.2 กลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการในกองทุนตำบล 1) กลุ่ม 1 กองทุนตำบลทั้งอำเภอ ขับเคลื่อนร่วมกับพชอ.
    • พชอ. บางใหญ่  จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 8 กองทุนฯ) • พชอ. บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 7 กองทุนฯ)
    • พชอ. วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง (จำนวน 16 กองทุนฯ) • พชอ. แก่งคอย สระบุรี (จำนวน 13 กองทุนฯ) • พชอ. อำเภอหนองแค (จำนวน 19 กองทุนฯ) 2) กลุ่ม 2 กองทุนตำบลที่มีเงินสะสม • เทศบาลนครนนทบุรี
    • เทศบาลนครปากเกร็ด 3) กลุ่ม 3 กองทุนตำบล ที่มีภารกิจถ่ายโอน • เทศบาลตำบลบางนมโค 1.3  ขั้นตอนการดำเนินงาน 1) การทำความเข้าใจ พชอ (กลุ่ม1) 2) การพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผน กก.กองทุน /ผู้รับผิดชอบกองทุนระดับจังหวัด (กลุ่ม1 /2/3) 3) การพัฒนาศักยภาพ การเขียนโครงการ (กลุ่ม1 / 2 /3) 4) การติดตามประเมินผล (กลุ่ม1 / 2 /3) 5) ประชุมหารือ พชอ. สรุปผล/วางแผน  (กลุ่ม1)
  2. รายงานผลการดำเนินงาน ขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับจังหวัด
    การดำเนินงานของเขต 4 มีการทำงานใน 2 รูปแบบ
    รูปแบบที่ 1 กองทุนที่ยังไม่มีแผน  กลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการ 1) พชอ. แก่งคอย สระบุรี (จำนวน 13 กองทุนฯ) 2). พชอ. อำเภอหนองแค (จำนวน 19 กองทุนฯ) 3)พชอ. วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง (จำนวน 16 กองทุนฯ) โดยเป็นการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงาน/โครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) มีกระบวนการดำเนินงาน 1) มีการสร้างความเข้าใจและการเชื่อมร้อยเครือข่าย การทำงานท้องถิ่น การสร้างความสำคัญ  เช่น การมอบใบประกาศเมื่อเสร็จสิ้นการประชุม 2) มีเครื่องมือที่ชัดเจน เช่นการจัดทำคู่มือ 3) กระบวนการกลุ่ม :  ทบทวนการบริหารจัดการกองทุน โดยการคืนข้อมูลเงินคงเหลือในกองทุน และให้นายอำเภอ ช่วยชี้แนะ เชิญชวนทำโครงการตามประเด็น พชอ.  องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาแผนงาน /โครงการ
    -การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพด้วย แผนผังต้นไม้ปัญหา เป็นเครื่องมือช่วยเื่อมโยงปัญหาสุขภาพ สาเหตุของปัญหา และผลกระทบ -กรอบความเชื่อมโยงของหัวข้อต่างๆในการเขียนโครงการ  เครื่องมือโปรแกรมการพัฒนาโครงการ รูปแบบที่ 2 กองทุนที่มีแผนแล้ว กลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการ 1) พชอ. บางใหญ่  จังหวัดนนทบุรี
    (จำนวน 8 กองทุนฯ) 2) พชอ. บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี (จำนวน 7 กองทุนฯ)  เน้นการใช้ เครื่องมือโปรแกรมการพัฒนาโครงการให้มีคุณภาพ ในกลุ่มเป้าหมายที่รับการสนับสนุนงบจากกองทุน   ข้อเสนอเชิงพัฒนาโปรแกรม 1.การใช้โปรแกรมกลุ่มเป้าหมายควรเป็นใคร  ระดับการใช้แตกต่างกัน

- อปท.และคนที่เกี่ยวข้อง พัฒนา แผน/ติดตามประเมินผล - กลุ่มคนที่ต้องการขอสนับสนุน เน้นการพัฒนาโครงการ /การติดตามประเมินผล
2.เครื่องมือในเชิงพัฒนา ประโยชน์ /ง่ายไม่ซับซ้อน /เขื่อมโยงกับงานเดิม 3. การสรุปแผนงาน/โครงการเพื่อเชื่อมโยงและตอบประเด็น พชอ. 3. แผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไก    สุขภาวะ เขต 4  ในระยะต่อไป 1. ทบทวนการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล
2. การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานการพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนงบ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดยให้ดำเนินการบันทึกแผนงานโครงการในโปรแกรม โดยเน้นโครงการที่ผ่านการอนุมัติ และมีการจัดกิจกรรมตามโครงการของ ปี 2563 ในโปรแกรมเพื่อการติดตามประเมินผล และใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาโครงการ ของปีงบประมาณ 2564  ส่วนรูปแบบการดำเนินงานให้ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัดวางแผนการดำเนินงานตามบริบทของตนเอง อาจเน้นการลงพื้นที่รายกองทุนตำบลหรือจัดการประชุมติดตามภาพรวมของจังหวัด

 

ประชุมเชิงปฎิบัติการสร้างเสริมศักยภาพในการจัดทำแผนงาน/โครงการฯ จังหัดนนทบุรี 31 ก.ค. 2563 31 ก.ค. 2563

 

-ทบทวนการบันทึกการใช้โปรแกรมเพื่อพัฒนาแผนงาน/โครงการ -การติดตามประเมินผลโครงการภายใต้การสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ผ่านโปรแกรม เพื่อวางแผนการพัฒนาโครงการ ปีงบประมาณ 2564 (นำโครงการของกองทุนปี 2563ที่รวบรวมได้มาคีย์ลงในโปรแกรม เน้นจัดทำแผน และโครงการที่พัฒนา)

 

-การติดตามประเมินผลโครงการภายใต้การสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ผ่านโปรแกรม เพื่อวางแผนการพัฒนาโครงการ ปีงบประมาณ 2564 (นำโครงการของกองทุนปี 2563ที่รวบรวมได้มาคีย์ลงในโปรแกรม เน้นจัดทำแผน และโครงการที่พัฒนา) -การติดตามประเมินผลโครงการภายใต้การสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ผ่านโปรแกรม เพื่อวางแผนการพัฒนาโครงการ ปีงบประมาณ 2564 (ต่อ) (นำโครงการของกองทุนปี 2563ที่รวบรวมได้มาคีย์ลงในโปรแกรม เน้นจัดทำแผน และโครงการที่พัฒนา)

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและติดตามโครงการในพื้นที่ เทศบาลนนทบุรีและเทศบาลปากเกร็ด 21 ส.ค. 2563

 

 

 

 

 

การประชุมสรุปผลดำเนินงานระดับเขต 14 ต.ค. 2563

 

 

 

 

 

ถอดบทเรียนโครงกำรบูรณำกำรขับเคลื่อน งำนสร้ำงเสริมสุขภำวะ และพัฒนำกลไกสุขภำพ ระดับพื้นที่ เขต 4 9 ก.ค. 2564 9 ก.ค. 2564

 

ชี้แจงวัตถุประสงค์การถอดบทเรียน ทบทวนกระบวนการและผลลัพธ์ความสาเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต ของเขต 4 โดย ดร. ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ 09.00 – 12.00 น. ถอดบทเรียนภาพรวมของโครงการฯ -ศักยภาพของกรรมการกองทุน/ผู้รับผิดชอบกองทุน/เครือข่ายที่ขอรับการสนับสนุน -การมีแผน/คุณภาพของแผน -การประเมินผล/คุณภาพของการประเมินผล โดย ดร. ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 น. ถอดบทเรียนในประเด็น พชอ. -การทางานร่วมกับ พชอ. -การมีแผนประเด็นระดับอาเภอ โดย รศ.ดร. อริศรา เล็กสรรเสริญ 14.00 - 15.00 น. ถอดบทเรียนในประเด็น กองทุนขนาดใหญ่ -การทางานร่วมกับกองทุนขนาดใหญ่ -การลดลงของรายได้สะสม โดย รศ.ดร. อริศรา เล็กสรรเสริญ

 

  1. ทบทวนวัตถุประสงค์ กิจกรรมการดำเนินงานในโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 4 1.1 ข้อจำกัดการดำเนินงานระบบสุขภาพชุมชนในปัจจุบันนำไปสู่ที่มาของการดำเนินงานของโครงการ • กลไกของทั้ง สธ. สปสช. สสส. มีการบูรณาการการทำงานกันน้อย • ขาดการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ และการกำหนดเป้าหมายอนาคตระบบ สุขภาพของชุมชน
    1.2 วัตถุประสงค์โครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพกลไกร่วมของ สสส. สปสช. (กองทุนฯ) และ สธ. (พชอ.) ในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับพื้นที่ โดย 1) อำเภอ (พชอ.) มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของอำเภอ โดยเป็นแผนเชิงประเด็น ที่รวบรวมจากแผนของกองทุนสุขภาพตำบล (เช่น แผนการจัดการเหล้าระดับอำเภอ เป็นการบูรณาการแผนจัดการเหล้าของกองทุนตำบลทั้งหมดในอำเภอ) 2) แต่ละแผนเชิงประเด็นของกองทุนแต่ละกองทุน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และเป็นโครงการที่สามารถลดปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน 3) มีระบบติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงทบทวนแผนและโครงการต่าง ๆ