สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

แผนงานบริหารจัดการ โครงการระบบอาหารในสถานศึกษา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการพื้นที่ผลิตอาหาร ทั้งด้านการเกษตร ปศุสัตว์ ประมง และการเข้าถึงอาหารของเด็กนักเรียน ในโรงเรียนในจังหวัดสงขลา
ตัวชี้วัด : เกิดการจัดการระบบอาหารกลางวันในโรงเรียนตั้งแต่กระบวนการผลิต กระบวนการปรุงอาหาร และการบริโภคที่ปลอดภัย โดยใช้เป็นวัตถุดิบอาหารที่เกิดจากการทำโครงการเกษตรโนโรงเรียน
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการภาวะโภชนาการที่ดีแก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ครูผู้รับผิดชอบการกำหนดเมนูอาหารกลางวันในโรงเรียนใช้โปรแกรม Thai School Lunch ออกเมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนทั้งรายสัปดาห์และรายเดือน โดยเมนูอาหารกลางวันเชื่อมโยงกับโครงการเกษตรในโรงเรียน
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : มีการติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน และโรงเรียนสามารถสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมแก้ปัญหาภาวะโภชนาการร่วมกับผู้ปกครอง และหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
0.00

 

4 เพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน ทั้งปัญหาเด็กอ้วน เตี้ย ผอม
ตัวชี้วัด : เกิดแผนงาน โครงการ กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบอาหารในโรงเรียนโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการพื้นที่ผลิตอาหาร ทั้งด้านการเกษตร ปศุสัตว์ ประมง และการเข้าถึงอาหารของเด็กนักเรียน ในโรงเรียนในจังหวัดสงขลา (2) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการภาวะโภชนาการที่ดีแก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน (3) เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพโรงเรียนอย่างครบวงจร (4) เพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน ทั้งปัญหาเด็กอ้วน เตี้ย ผอม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนการจัดการระบบอาหารในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 80  โรง เรียน ๆ ละ 5 คน รวม 400 คน (2) สนับสนุนให้โรงเรียน ดำเนินงานตามแผนที่กำหนด (ดำเนินโครงการเกษตรในโรงเรียน) (3) พัฒนาระบบการประเมินผลแบบออนไลน์ (บนเวปไซต์) (4) การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กนักเรียน โดยการจัดอบรมให้ความรู้ ให้กับครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 80 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน รวม 160 คน จำนวน 1 ครั้ง (5) อบรมครูอนามัยโรงเรียน แม่ครัว เรื่องการจัดบริการอาหารกลางวันให้ถูกหลักโภชนาการ จำนวน 80 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน รวม 160 คน จำนวน 2 ครั้ง (6) พัฒนาศักยภาพครูที่รับผิดชอบโครงการเรื่องการบันทึกข้อมูลในระบบการติดตามประเมินผลแบบออนไลน์ (เวปไชต์) (7) ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้บริหารโรงเรียน ครูอนามัยโรงเรียน ๆ ละ 2 คน  จำนวน 80 โรงเรียน รวม 160 คน (8) ประชุมครูผู้รับผิดชอบโครงการฯ เพื่อรับฟังความเห็น และสังเคราะห์บทเรียนการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาเป็นองค์ความรู้ จำนวน 1 ครั้ง 80 คน (9) โรงเรียนมีนโยบายใช้ผลผลิตจากพื้นที่ผลิตอาหารทั้งเกษตร ปศุสัตว์ และประมงเป็นวัตถุดิบอาหารกลางวันแก่เด็กนักเรียน ใช้การประชุมระดมความคิดเห็นกับเกษตรตำบล พัฒนาชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแกนนำเกษตร เพื่อค้นหาแหล่งผลผิตอาหารในชุมชน โดยโรงเรี (10) ประชุมกลุ่มย่อย (Focus group)เพื่อถอดบทเรียน การดำเนินงานของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 ครั้ง (ครั้งละ 16 คน ) (11) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 80 โรงเรียน ๆ ละ 1 คน รวม 80 คน (12) สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh