สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันอย่างเพียงพอกับความต้องการ และฝึกให้นักเรียนรับประทานผัก
ตัวชี้วัด : มีผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหาร
60.00 60.00

มีผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหาร

นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย

มีอาหารเพียงพอ

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ในการปลูกพืชผัก
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีประสบการณ์ในการปลูกผัก
85.00 85.00

นักเรียนมีประสบการณ์ในการปลูกผัก

นักเรียนนำความรู้ไปปลูกผักระดับครัวเรือนได้

จากพฤตกรรมเด็กให้ความสนใจในการทกิจกรรม

3 เพื่อส่งเสริมการรับประทานอาหารให้ได้โปรตีนจากเนื้อปลา และนักเรียนได้ความรู้
ตัวชี้วัด : นักเเรียนได้รับความรู้และนำปลามาประกอบอาหารกลางวัน
65.00 65.00

นักเรียนได้รับความรู้และนำปลามาประกอบอาหารกลางวัน

นักเรียนมีแหล่งโปรตีนที่ได้จากปลา

เด็กในรับสารอาหารที่ครบถ้วนโภชนาการสมวัย

4 เพื่อฝึกความรับผิดชอบให้แก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรับผิดชอบ
80.00 80.00

นักเรียนมีความรับผิดชอบ

นักเรียนมีความรับผิดชอบ

จากการสังเกตุพฤติกรรมจากการสังนักเรียนมีความรับผิดชอบ

5 เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้ระหว่างเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอและต่อเนื่องตลอดปี
50.00 50.00

นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอและต่อเนื่องตลอดปี

นักเรียนมีอาหารเพียงพอ

นักเรียนได้รับประทานอาหารเพียพอและมีโภชนาการสมวัย

6 เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับประทาอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายและมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สะอาด ถูกหลักอนามัยมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร
85.00 85.00

นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สะอาด ถูกหลักอนามัยมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร

นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สะอาด ถูกหลักอนามัยมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร มาใช้ในชีวิตประจำวัน

จากพฤติกรรมของนักเรียน มีการดูลสุขอนามัยของตัวเองมากขึ้น

7 เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการและด้านเกษตรกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครองร่วมทั้งชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพถูกหลักโภชนาการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและมีความรู้ด้านเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนโดยมีชุมชนและหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งมีผลโดยตรงให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี รวมทั้งประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมดำเนินงานมีสุขภาพพลานามัยที่ดีด้วย
75.00 75.00

โครงการมี ชุมชนและหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลนักเรียนทั้งในโณงเรีนและที่บ้าน ซึ่งมีผลโดยตรงให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี รวมทั้งประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมดำเนินงานมีสุขภาพพลานามัยที่ดี

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง คนในชุมชน หน่วยงาน เข้ามาดูแลเด็ฏนักเรียนให้มีสุขอนามัยที่ดี

จากการให้ความร่วมมือของทุกฝ่าย

8 เพื่อให้นักเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโดยการปฏิบัติจริงให้รู้จักวิธีการผลิตอาหาร และความรู้ด้านเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : สถานศึกษานำเรื่องเกษตรธรรมชาติ อาหารปลอดสารพิษ การอนุรักษ์ป่าไม้เพื่อเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติ และการทำงานเป็นกลุ่มสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ในทุกระดับชั้นตามความเหมาะสม
75.00 75.00

นักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการทำกิจกรรมการเกษตรมาบูรณษการกับวิชาเรียนต่างๆ

นักเรียนมีความรู้จากประสบการณ์และมีความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนกลุ่มสาระวิชาต่างๆ

จากพฤติกรรมของนักเรียนให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม