สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อนำมาปรุงอาหารให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผลผลิตจากโครงการที่นำมาใช้ปรุงอาหารกลางวัน เมื่อเทียบกับผลผลิตที่ซื้อมาจากภายนอก
60.00 65.00

ได้ผักบุ้ง 4 แปลง นำมาจำหน่ายให้แม่ครัว 3 แปลง
แตงกวา 1 แปลง นำมาจำหน่ายให้แม่ครัวทั้งหมด กวางตุ้ง 2 แปลง นำมาจำหน่ายให้แม่ครัว 1 แปลง
เห็ด 1 โรงเรือน นำมาจำหน่ายให้แม่ครัวร้อยละ 60 อีกร้อยละ 40 นำไปจำหน่ายให้ผู้ปกครอง มาใช้เป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหารกลางวัน ทำให้นักเรียนได้กินผัก เห็ดที่ปลอดสารพิษ

 

 

2 สร้างการมีส่วนร่วมให้นักเรียนทำการเกษตรในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีส่วนร่วมในการปลูกผัก เพาะเห็ด และเลี้ยงปลาดุกทุกกระบวนการ จนสามารถนำไปจำหน่ายแก่แม่ครัว และผู้ปกครองได้
80.00 90.00

นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำการเกษตรในโรงเรียนทำให้ผลผลิตที่ได้สามารถจำหน่ายแก่แม่ครัว และผู้ปกครองได้ ตลอดจนนักเรียนความรู้ในการเพาะปลูก เพาะเห็ด และเลี้ยงปลาดุก