แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) ”
ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (0892996257 , 0895971252)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑)
ที่อยู่ ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และนโยบายการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ซึ่งกรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารฉบับดังกล่าวมุ่ง สู่วิสัยทัศน์ที่ว่า “ ประเทศไทยมีความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ เป็นแหล่งอาหารที่มีคุณภาพสูง ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการเพื่อชาวไทยและชาวโลกอย่างยังยืน ” ตามหลักการดังกล่าวโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา ๑ ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินการจัดทำอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษาคือตั้งแต่ระดับดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นักเรียนทุกคนได้รับรับประทานอาหารกลางวันทุกคน แต่นักเรียนบางส่วนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 45.89 และน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนตามเกณฑ์ 79 คน คิดเป็นร้อยละ 54.10 ของนักเรียนทั้งหมด
ดังนั้นตามเกณฑ์ดังกล่าวทางโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา ๑ มีการจัดทำกิจกรรมเกี่ยวการเกษตรหรือการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โดยการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพื่อนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ที่ดีขึ้น โดยกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้เน้นนักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการผลิตและใช้เป็นอาหารกลางวันที่ถูกต้องครบถ้วนหลักการทางด้านโภชนาการและปลอดสารพิษ
กิจกรรมเกี่ยวกับการเกษตรโดยเฉพาะกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงปลาดุก รวมไปถึงการปลูกพืชสวนครัวและเพาะเห็ดนางฟ้าเป็นกิจกรรมที่ควรพัฒนาต่อไปเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี รวมถึงการให้ความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่นเพื่อที่จะนำไปพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพและใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
- นักเรียนมีความรู้และเลี้ยงสัตว์ คือ ไก่ไข่ และปลาดุก (บ่อซีเมนต์) ได้ถูกต้อง
- นักเรียนทีความรู้และสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเพาะเห็ดนางฟ้าได้
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ได้มีความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เลี้ยงไก่ไข่
- เลี้งปลาดุก
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- ปลูกผักสวนครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียน
146
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้รับประทาอาหารที่ปลอดภัยและถูกต้องตามหลักโภชนาการ
- นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงสัตว์ คือ เลี้ยงไก่ไข่ และปลาดุก (บ่อซีเมนต์) และนำไปสู่ระบบอาหาร กลางวันในโรงเรียน
- นักเรียนมีความรู้และสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเพาะเห็ดนางฟ้าเพื่อนำไปสู่ระบบอาหาร กลางวันในโรงเรียน
- นักเรียน ครู ผู้ปกครองมีความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 2 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก
2.มีการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 48 ตัว ในโรงเรีอนเดิมที่มีอยู่แล้ว จำนวน 1โรงเรือน มีการแบ่งนักเรียนที่สนใจเข้ามารับผิดชอบงาน แบ่งเวรในการดูแลไก่ไข่ในแต่ละวัน ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่6 จำนวน 8คน พลัดเปลี่ยนเวรกันดูแลทั้งในเรื่องของการให้อาหารไก่ไข่ การดูแลโรงเรีอน และการเก็บผลผลิตไข่ไก่ ส่งให้กับโรงครัวโรงเรียนเพื่อเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียนในโรงเรียนระดับชั้นอนุบาล จนถึงประถมศึกษาปีที่6
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีไก่ไข่บริโภคเป็นอาหารกลางวัน
2.ไก่ไข่ จำนวน 48 ตัวที่เลี้ยงไว้สามารถให้เก็บไข่ ครั้งละ 180 ฟองต่อสัปดาห์ และสามารถทำเป็นเมนูอาหารที่เป็นเมนูไข่ให้กับนักเรียนได้ทานเป็นมื้ออาหารกลางวัน
3.นักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลไก่ไข่และสามารถขยายความรู้ให้กับเพื่อนนักเรียนและชุมชนที่สนใจ
4.นักเรียนได้กินไข่ไก่ที่มีความปลอดภัย และมีโปรตีนสูง
5.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง
50
0
2. เลี้งปลาดุก
วันที่ 3 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก
2.มีการเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1,000 ตัว ในบ่อซีเมนต์เดิมที่มีอยู่แล้ว จำนวน 2 บ่อ มีการแบ่งนักเรียนที่สนใจเข้ามารับผิดชอบงานระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4 จำนวน 5-6 คน ผลัดเปลี่ยนเวรในแต่ละวัน ในเรื่องของการให้อาหาร การถ่ายน้ำจากบ่อเลี้ยง การดูแลรักษาความสะอาดของบ่อ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ปลาดุก 1,000 ตัว ที่เลี้ยงไว้สามารถส่งเข้าสู่โรงครัวของโรงเรียน และเป็นเมนูอาหารในมื้อกลางวัน จำนวน 13-14กิโลกรัม จำนวน 1 ครั้ง .ในปีการศึกษา
2.นักเรียนได้กินปลาดุกที่แม่ครัวทำเป็นเมนูอาหาร ทำให้ได้รับโปรตีนจากเนื้อปลา
3.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง โภชนาการสมวัย
50
0
3. ปลูกผักสวนครัว
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก
2.มีการปลูกผักสวนครัว และผักใบ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ในแปลงดินในรูปแบบผักกางมุ้ง จำนวน 5 แปลง
3.นักเรียนที่รับผิดชอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่5 จำนวน 7-8 คน มีการเปลี่ยนเวรในการดูแล รดน้ำ ใส่ปุ๋ย และเก็บผลผลิต จากแปลงสู่โรงครัวของโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผลผลิตที่ได้จากแปลงผัก ป้อนสู่โรงครัว ตลอดปีการศึกษา ทำให้มีเมนูอาหารจากผักที่นักเรียนปลูกเองมีความปลอดภัย และเหลือสามารถแบ่งให้กับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อเป็นอาหารให้กับทุกคนในครอบครัว
2.นักเรียน 153 คน ได้กินผักปลอดสารพิษในมื้ออาหารกลางวันของโรงเรียน
3.นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการปลูกผัก สามารถนำไปใช้ในครัวเรือนตนเองได้
4.นักเรียนมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง และมีโภชนาการสมวัย
50
0
4. เพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 15 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก
2.มีการเพาะเห็ด จำนวน 300 ก้อนในโรงเรือนจำนวน 1โรงเรือน ที่มีอยู่เดิมมีการแบ่งนักเรียนที่สนใจเข้ามารับผิดชอบงานระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4 จำนวน 5-6 คน ผลัดเปลี่ยนเวรในแต่ละวัน ในเรื่องของการรดน้ำ การดูแลโรงเรือน และการเก็บผลผลิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เห็ดนางฟ้าที่เพาะไว้สามารถให้ผลผลิต 13-14กิโลกรัมต่อครั้ง และสามารถนำไปเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียนในทุกระดับชั้นตั้งแต่อนุบาล ถึงระดับประถมศึกษาปีที่6
2.นักเรียนที่รับผิดชอบโครงการมีความรู้ในการเพาะเห็ดนางฟ้า
3.เมนูจากเห็ดนางฟ้า ทำให้นักเรียนได้รับโปรตีนในมื้ออาหาร
4.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง และโภชนาการสมวัย
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีน้ำหนัก และส่วนสูงตามภาวะโภชนาการที่กำหนด
60.00
2
นักเรียนมีความรู้และเลี้ยงสัตว์ คือ ไก่ไข่ และปลาดุก (บ่อซีเมนต์) ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนสามารถเลี้ยงปลา ไก่ ได้ถูกต้อง
2.นักเรียนมีเนื้อสัตว์เป็นอาหารกลางวัน เพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต
60.00
3
นักเรียนทีความรู้และสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเพาะเห็ดนางฟ้าได้
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนสามารถปลูกผักสวนครัวได้
2. นักเรียนมีความรู้เรื่องประโยชน์ของผักปลอดสารพิษและนำความรู้ไปปฏิบัติ
3. นักเรียนสามารถดูแลเห็ดนางฟ้า
60.00
4
นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ได้มีความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ครู ผู้ปกครอง สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติทั้งที่โรงเรียน บ้าน และชุมชน
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
146
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน
146
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (0892996257 , 0895971252) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) ”
ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (0892996257 , 0895971252)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑)
ที่อยู่ ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.3 ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และนโยบายการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ซึ่งกรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารฉบับดังกล่าวมุ่ง สู่วิสัยทัศน์ที่ว่า “ ประเทศไทยมีความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ เป็นแหล่งอาหารที่มีคุณภาพสูง ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการเพื่อชาวไทยและชาวโลกอย่างยังยืน ” ตามหลักการดังกล่าวโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา ๑ ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินการจัดทำอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษาคือตั้งแต่ระดับดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นักเรียนทุกคนได้รับรับประทานอาหารกลางวันทุกคน แต่นักเรียนบางส่วนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 45.89 และน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนตามเกณฑ์ 79 คน คิดเป็นร้อยละ 54.10 ของนักเรียนทั้งหมด
ดังนั้นตามเกณฑ์ดังกล่าวทางโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา ๑ มีการจัดทำกิจกรรมเกี่ยวการเกษตรหรือการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โดยการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพื่อนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ที่ดีขึ้น โดยกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้เน้นนักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการผลิตและใช้เป็นอาหารกลางวันที่ถูกต้องครบถ้วนหลักการทางด้านโภชนาการและปลอดสารพิษ
กิจกรรมเกี่ยวกับการเกษตรโดยเฉพาะกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงปลาดุก รวมไปถึงการปลูกพืชสวนครัวและเพาะเห็ดนางฟ้าเป็นกิจกรรมที่ควรพัฒนาต่อไปเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี รวมถึงการให้ความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่นเพื่อที่จะนำไปพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพและใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
- นักเรียนมีความรู้และเลี้ยงสัตว์ คือ ไก่ไข่ และปลาดุก (บ่อซีเมนต์) ได้ถูกต้อง
- นักเรียนทีความรู้และสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเพาะเห็ดนางฟ้าได้
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ได้มีความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เลี้ยงไก่ไข่
- เลี้งปลาดุก
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- ปลูกผักสวนครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียน | 146 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้รับประทาอาหารที่ปลอดภัยและถูกต้องตามหลักโภชนาการ
- นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงสัตว์ คือ เลี้ยงไก่ไข่ และปลาดุก (บ่อซีเมนต์) และนำไปสู่ระบบอาหาร กลางวันในโรงเรียน
- นักเรียนมีความรู้และสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเพาะเห็ดนางฟ้าเพื่อนำไปสู่ระบบอาหาร กลางวันในโรงเรียน
- นักเรียน ครู ผู้ปกครองมีความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 2 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก 2.มีการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 48 ตัว ในโรงเรีอนเดิมที่มีอยู่แล้ว จำนวน 1โรงเรือน มีการแบ่งนักเรียนที่สนใจเข้ามารับผิดชอบงาน แบ่งเวรในการดูแลไก่ไข่ในแต่ละวัน ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่6 จำนวน 8คน พลัดเปลี่ยนเวรกันดูแลทั้งในเรื่องของการให้อาหารไก่ไข่ การดูแลโรงเรีอน และการเก็บผลผลิตไข่ไก่ ส่งให้กับโรงครัวโรงเรียนเพื่อเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียนในโรงเรียนระดับชั้นอนุบาล จนถึงประถมศึกษาปีที่6 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีไก่ไข่บริโภคเป็นอาหารกลางวัน 2.ไก่ไข่ จำนวน 48 ตัวที่เลี้ยงไว้สามารถให้เก็บไข่ ครั้งละ 180 ฟองต่อสัปดาห์ และสามารถทำเป็นเมนูอาหารที่เป็นเมนูไข่ให้กับนักเรียนได้ทานเป็นมื้ออาหารกลางวัน 3.นักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลไก่ไข่และสามารถขยายความรู้ให้กับเพื่อนนักเรียนและชุมชนที่สนใจ 4.นักเรียนได้กินไข่ไก่ที่มีความปลอดภัย และมีโปรตีนสูง 5.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง
|
50 | 0 |
2. เลี้งปลาดุก |
||
วันที่ 3 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก 2.มีการเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1,000 ตัว ในบ่อซีเมนต์เดิมที่มีอยู่แล้ว จำนวน 2 บ่อ มีการแบ่งนักเรียนที่สนใจเข้ามารับผิดชอบงานระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4 จำนวน 5-6 คน ผลัดเปลี่ยนเวรในแต่ละวัน ในเรื่องของการให้อาหาร การถ่ายน้ำจากบ่อเลี้ยง การดูแลรักษาความสะอาดของบ่อ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ปลาดุก 1,000 ตัว ที่เลี้ยงไว้สามารถส่งเข้าสู่โรงครัวของโรงเรียน และเป็นเมนูอาหารในมื้อกลางวัน จำนวน 13-14กิโลกรัม จำนวน 1 ครั้ง .ในปีการศึกษา 2.นักเรียนได้กินปลาดุกที่แม่ครัวทำเป็นเมนูอาหาร ทำให้ได้รับโปรตีนจากเนื้อปลา 3.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง โภชนาการสมวัย
|
50 | 0 |
3. ปลูกผักสวนครัว |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก 2.มีการปลูกผักสวนครัว และผักใบ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ในแปลงดินในรูปแบบผักกางมุ้ง จำนวน 5 แปลง 3.นักเรียนที่รับผิดชอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่5 จำนวน 7-8 คน มีการเปลี่ยนเวรในการดูแล รดน้ำ ใส่ปุ๋ย และเก็บผลผลิต จากแปลงสู่โรงครัวของโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผลผลิตที่ได้จากแปลงผัก ป้อนสู่โรงครัว ตลอดปีการศึกษา ทำให้มีเมนูอาหารจากผักที่นักเรียนปลูกเองมีความปลอดภัย และเหลือสามารถแบ่งให้กับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อเป็นอาหารให้กับทุกคนในครอบครัว 2.นักเรียน 153 คน ได้กินผักปลอดสารพิษในมื้ออาหารกลางวันของโรงเรียน 3.นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการปลูกผัก สามารถนำไปใช้ในครัวเรือนตนเองได้ 4.นักเรียนมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง และมีโภชนาการสมวัย
|
50 | 0 |
4. เพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ ออกเป็นกลุ่มที่สนใจในเรื่องที่จะทำ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเลี้ยงปลาดุก 2.มีการเพาะเห็ด จำนวน 300 ก้อนในโรงเรือนจำนวน 1โรงเรือน ที่มีอยู่เดิมมีการแบ่งนักเรียนที่สนใจเข้ามารับผิดชอบงานระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4 จำนวน 5-6 คน ผลัดเปลี่ยนเวรในแต่ละวัน ในเรื่องของการรดน้ำ การดูแลโรงเรือน และการเก็บผลผลิต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เห็ดนางฟ้าที่เพาะไว้สามารถให้ผลผลิต 13-14กิโลกรัมต่อครั้ง และสามารถนำไปเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียนในทุกระดับชั้นตั้งแต่อนุบาล ถึงระดับประถมศึกษาปีที่6 2.นักเรียนที่รับผิดชอบโครงการมีความรู้ในการเพาะเห็ดนางฟ้า 3.เมนูจากเห็ดนางฟ้า ทำให้นักเรียนได้รับโปรตีนในมื้ออาหาร 4.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง และโภชนาการสมวัย
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีน้ำหนัก และส่วนสูงตามภาวะโภชนาการที่กำหนด |
60.00 | |||
2 | นักเรียนมีความรู้และเลี้ยงสัตว์ คือ ไก่ไข่ และปลาดุก (บ่อซีเมนต์) ได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนสามารถเลี้ยงปลา ไก่ ได้ถูกต้อง 2.นักเรียนมีเนื้อสัตว์เป็นอาหารกลางวัน เพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต |
60.00 | |||
3 | นักเรียนทีความรู้และสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเพาะเห็ดนางฟ้าได้ ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนสามารถปลูกผักสวนครัวได้ 2. นักเรียนมีความรู้เรื่องประโยชน์ของผักปลอดสารพิษและนำความรู้ไปปฏิบัติ 3. นักเรียนสามารถดูแลเห็ดนางฟ้า |
60.00 | |||
4 | นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ได้มีความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ครู ผู้ปกครอง สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติทั้งที่โรงเรียน บ้าน และชุมชน |
70.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 146 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียน | 146 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรในโรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา ๑) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนธรรมศาสตร์ - จุฬา 1 (0892996257 , 0895971252) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......