สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อลดจำนวนเด็กขาดสารอาหารให้น้อยลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่ขาดสารอาหารลดลงเหลือ
20.00 5.00 80.00

1.นักเรียนได้รับประทานเมนู ปลาดุก จากโครงการฯ

2.ผลผลิตที่ป้อนสู่โรงครัวของโรงเรียน เกิดเป็นเมนูอาหารกลางวัน

3.ผลผลิตที่ได้จากโครงการฯ เช่น ปลาดุกมีความปลอดภัย

4.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

2.ผลผลิตมีความปลอดภัย

3.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อลดจำนวนเด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าให้ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าลดลงเหลือ
25.00 5.00 80.00

เด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าลดลง

เด็กมีสมาธิในการเรียนมากขึ้น และมีโภชนาการสมวัย

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ