สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน
85.00 90.00

1.ปลาดุกที่เลี้ยงในบ่อ เมื่อโตเต็มวัย จะนำมาเข้าโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

2.แม่ครัวสามารถจัดเมนูอาหารที่มีปลาดุกเป็นส่วนประกอบ

นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 2.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก
80.00 85.00

1.การเลี้ยงปลาดุกไปบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ ได้

2.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุก

1.โรงเรียนสามารถเป็นแหล่งผลิตปลาดุกส่งให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

2.ผลผลิตมีความปลอดภัย

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
85.00 90.00

จัดเวรประจำวันในการดูแลบ่อปลาดุกให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - ุ6

นักเรียนมีจิตอาสา

 

4 เพื่อสนองนโยบายรัฐบาลในเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมที่ตอบสนองนโยบายรัฐบาลในเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2.00 2.00

1.โรงเรียนได้ตั้งเป้าหมายจะดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการปลูกผักปลอกสารพิษ และการเลี้ยงไก่ไข่

2.นักเรียนสามารถนำหลัก ศก.พอเพียงไปใช้ในครอบครัวตนเอง

ครอบครัวนักเรียนมีรายจ่ายลดลง

บัญชีครัวเรือน