วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.พัฒนายกระดับต้นแบบการทําเกษตรกรรมยั่งยืนใน พื้นที่เป้าหมายและขับเคลื่อนให้เกิดการขยายผล (Model for Scaling up) |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.ขับเคลื่อนและยกระดับ โมเดล (good practice) ใน การกระจาย เชื่อมโยง ผลผลิต อาหารเพื่อสุข ภาวะให้กับ ประชาชนใน ชุมชน ผ่าน กลไกต่างๆ ไปสู่การขยาย ผล (Model for Scaling up) |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3.พัฒนา ต้นแบบการ ส่งเสริมความ รอบรู้ด้านอาหารเพื่อสุข ภาวะ (ความ มั่นคงอาหาร/ อาหาร ปลอดภัย/ โภชนาการ) ให้กับ ประชาชนใน พื้นที่เพื่อปรับ พฤติกรรม การบริโภค และร่วมพลัง เป็นพลเมือง อาหาร |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : 4.พัฒนา ระบบ/กลไก เฝhาระวัง ผลผลิต ปลอดภัย เทศบาลนคร ยะลา จ.ยะลา |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 5 : 5.พัฒนา ต้นแบบ ระบบอาหารเพื่อสุขภาวะ ตลอดห่วงโซ่ ที่แก้ปัญหา ภาวะ โภชนาการใน กลุ่มเด็กเล็ก เด็กนักเรียน และกลุ่ม เปราะบาง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 6 : 6.พัฒนาและ ขับเคลื่อน นโยบาย สาธารณะ เพื่อส่งเสริม บริโภค อาหารเพื่อสุข ภาวะ/ระบบ อาหารที่ ยั่งยืน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 7 : 7.พัฒนาฐาน ข้อมูลและ แผนภาพ เพื่อใช้ขับ เคลื่อนและ บูรณาการทํา งานระบบ อาหารตลอด ห่วงโซ่ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
1 พ.ย. 66 - 30 ก.ย. 67 | 1. ขับเคลื่อนและยกระดับโมเดลการเชื่อมโยง และกระจายผลผลิตอาหารเพื่อสุข ภาวะ ในพื้นที่เป้าหมายจังหวัดสงขลา เพื่อเพิ่มการเข้าถึงอาหารปลอดภัยให้กับ ประชาชนโดยกลไกตลาดเขียวในโรงงานอุตสาหกรรม | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 - 30 พ.ย. 66 | 1.1 ประชุมร่วมกับเทศบาล ต.ปริก โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเขตเทศบาล โรงงานอุตสาหกรรมในเขตอำเภอสะเดา (ที่มีในระบบ โรงงานเซฟสกินกับถาวรอุตสาหกรรมยางพารา) โรงพยาบาลสะเดา โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ และเกษตรกรในอำเภอสะเดา เพื่อประเมินแนวทางการการพัฒนาตลาดเขียวในโ | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 - 30 พ.ย. 66 | 2.1 ประสานกับวิทยุมอ.88 หาดใหญ่ มอ.ปัตตานี เอามาออกแบบการพัฒนาประเด็นสื่อสาร ข้อเสนอเชิงนโยบายความมั่นคงทางอาหาร การทำเกษตรกรรมยั่งยืน ตลาดสีเขียวในชุมชน อาหารปลอดภัย นโยบายแก้ปัญหาด้านโภชนาการ เช่นเด็กเตี้ย เด็กผอม | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 ธ.ค. 66 - 31 มี.ค. 67 | 2. กิจกรรมการสื่อสารสาธารณะและการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 ธ.ค. 66 - 31 ต.ค. 67 | 3. การติดตามประเมินผลภายนอก | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 - 31 ธ.ค. 66 | 1.2 ทีมนักวิชาการ (เทศบาลปริก กับ สนง.เกษตรอำเภอ พัฒนาชุมชน) โรงงงานอุตสาหกรรม ประเมินพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรม เพื่อจัดตั้งตลาดเขียว | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 ธ.ค. 66 - 31 ต.ค. 67 | 3.1 ติดตามประเมินผลภายในโครงการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าตามตัวชี้วัดและให้ข้อเสนอแนะต่อผู้รับผิดชอบโครงการรวมทั้งช่วยประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เช่นค่าใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์ | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 | 1.3 ปฏิบัติการทำตลาดเขียวกับโรงงานอุตสาหกรรม มีกิจกรรมการซื้อขายในตลาดและระบบการซื้อขายกับศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ตลาด กิจกรรมการสร้างความรอบรู้เรื่องอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ ผู้ผลิตอาหาร(เกษตรกร) และผู้บริโภค | 0.00 | 0.00 | - | ||
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 | 1.4 นักวิชาการถอดบทเรียนตลาดเขียวในโรงงาน เพื่อทำ model ตลาดอาหารปลอดภัย ในรูปแบบตลาดโรงงานอุตสาหกรรม | 0.00 | 0.00 | - | ||
9 ม.ค. 67 | ประชุมระดมความคิดเห็นจัดทำแผนพัฒนาตลาดนัดอาหารในโรงงานอุตสาหกรรม | 0.00 | 0.00 | ✔ | - | |
15 ม.ค. 67 | การลงพื้นที่ ดูแหล่งรวบรวมผลผลิตและตลาดเขียวในโรงงานเซฟสกิน | 0.00 | 0.00 | ✔ | - | |
19 ม.ค. 67 | ประชุมวางแผนการพัฒนาตลาดในโรงงานอุตหกรรม | 0.00 | 0.00 | ✔ | - | |
1 - 31 มี.ค. 67 | 2.2 จัดเวทีนโยบายในพื้นที่(คลายๆ Thai pbs) | 0.00 | 0.00 | - | ||
26 ธ.ค. 66 | ประชุมคณะกรรมการชุมชนเทศบาลตำบลปริก ประจำเดือนธันวาคม 2566 ครั้งที่ 2/2567 | 0.00 | 0.00 | ✔ | - | |
10 มิ.ย. 67 | ประชุมปฏิบัติการเชิงออกแบบจุดรวบรวมผลผลิตอาหารชุมชนอย่างมีส่วนร่วมเทศบาลตำบลปริก | 0.00 | 0.00 | ✔ | - | |
2 ก.ย. 67 | กิจกรรมเปิดป้ายจุดรวบรวมและกระจายผลผลิตอาหาร พร้อมมอบอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวบรวม และจำหน่ายผลผลิตให้แก่วิสาหกิจชุมชนคนปริก มีกิน มีใช้ (ผักอินทรีย์) | 0.00 | 0.00 | ✔ | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้