สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 1) 24 ก.พ. 2566 24 ก.พ. 2566

 

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม…จัดประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจร่วมถึงเป้าหมายการดำเนินงานตามโครงการ และนำเสนอผลการเก็บข้อมูลในเบื้องต้นของทีมงานระดับพื้นที่ตำบล สถานที่จัดกิจกรรม/ประชุมณ    ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น 5 อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม  • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอ • ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบลและผู้แทนประชาชนในจำบล จาก 5  พื้นที่เป้าหมายเขตอำเภแเมืองสกลนคร จ.สกลนครคือ           1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม
2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง
4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน
5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
รวมจำนวน  3ุ6 คน รายละเอียดการจัดกิจกรรม  คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โดย ดร.ปทมุทิพย์  ม่านโคกสงู หัวหน้าศูนย์ประสานสมัชชาสุขภาพฯ
- พี้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล แลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์ปัญหา อปุสรรค การทำงานในพื้นที่  (AAR: After Action Review) นำเสนอผลการดำเนนิงานการเก็บข้อมูล ประกอบไปด้วย  (1) บริบทพื้นที่ชมุชน / หมู่บ้าน ที่เลือกเก็บข้อมูล                                    (2) สถานการณ์ปัญหา-อปุสรรค ที่พบขณะเก็บข้อมูล (3) การแก้ไขปัญหา-อปุสรรคที่พบขณะเก็บข้อมูล  (4) ผลการนำเข้าข้อมูลในระบบออนไลน์(การคีย์ข้อมูล)  โดย ทีมงานระดับตำบล

 

-ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผู้เข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการฯ สามารถเก็บข้อมูลตามแบบสำรวจและสามารถนำแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ในระดับรายบุคคล จำนวนตำบลละ 200 คน รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ 200 ครัวเรือน และรายกองทุน จำนวนตำบลละ 1 กองทุน
-พี้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล สามารถเก็บข้อมูลและคีย์ข้อมูลเสร็จตามกำหนดเวลาภายในเดือน กุมภาพันธ์ 2566  โดยใช้จุดแช็งของพื้นที่ผู้นำให้การสนับสนุน  ทีมงานเป็นคนในพื้นที่มีความคุ้นเคยกับชุมชนในการดำเนินงาน แบบสอบถามเข้าใจง่าย  ผลการดำเนินงานเก็บข้อมูล ดังนี้
        1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร รวม 330 ชุด  1  ชุมชน 2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร        รวม  300  ชุด  1 ชุมชน 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร            รวม  300  ชุด  1  ชุมชน 4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร                รวม  300  ชุด  1  ชุมชน 5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร  รวม  307  ชุด  1  ชุมชน

 

ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1) เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan) 9 ธ.ค. 2565 9 ธ.ค. 2565

 

กำหนดการ ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1)
เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan)
วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 09.00-16.00น. ณ ห้องประชุมสมาคมพัฒนาประชาสังคมไทสกล อ.เมือง จ.สกลนคร

เวลา 08.30-09.00น. ลงทะเบียน เวลา 09.00-09.30น. ชี้แจงเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการโครงการบูรณาการกลไก สร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10) เวลา 09.30-11.30น. บรรยายเรื่อง ตัวชี้วัดระดับกองทุนที่เข้าร่วมโครงการฯ
ตัวชี้วัดที่ 1 เก็บข้อมูลโดยแบบสำรวจ (10 ประเด็น) ได้แก่ อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ตัวชี้วัดที่ 2 จัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ในโปรแกรมออนไลน์
ตัวชี้วัดที่ 3 พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะในโปรแกรมออนไลน์
วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10)
เวลา 11.30-12.00น. คณะทำงานระดับเขต/อำเภอ (เขต 8) ซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เวลา 12.00-13.00น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00-14.00น. บรรยายเรื่อง บทบาทหน้าที่ทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด/อำเภอ วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10)
เวลา 14.00-15.30น. บรรยายเรื่อง การวางแผนปฏิบัติการ เขต 8
วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10) เวลา 15.30-16.00น. สรุปผลการประชุม และปิดการประชุม หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่างระหว่างการประชุม

 

ผลสรุปการประชุม (9 ธันวาคม 2565) 1. แผนปฎิบัติงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เขต 8 (อ.เมือง จ.สกลนคร พื้นที่ขยายผล 5 ตำบล) วัน/เดือน/ปี กิจกรรม 5 ธ.ค 65 ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1) เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan) กลุ่มเป้าหมาย 5 คน ม.ค.-66 - ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่ 5 ตำบล เข้าพบนายก อปท. เพื่อชี้แจงเป้าหมายของโครงการ - ประชุมชี้แจงเป้าหมาย/ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล กลุ่มเป้าหมาย 20 คน ม.ค. - ก.พ. 2566 เก็บข้อมูลระดับตำบล พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล ก.พ. 2566- ก.ย.2566 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯเจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ ติดตามประเมินผล กลุ่มเป้าหมาย 10 คน
(รวม 4 ครั้ง) ดังนี้
ครั้งที่ 1 เดือน ก.พ. 2566 ครั้งที่ 2 เดือน มี.ค. 2566 ครั้งที่ 3 เดือน มิ.ย. 2566 ครั้งที่ 4 เดือน ก.ย. 2566 พ.ย.-66 สรุปบทเรียนการดำเนินงานและวางแนวทางการพัฒนากองทุนตำบล กลุ่มเป้าหมาย 20 คน

  1. ตัวชี้วัดระดับตำบล
    1. มีการเก็บข้อมูลโดยแบบสำรวจ (10 ประเด็น) ได้แก่ อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต)
      *เก็บข้อมูลทุกกองทุนๆละ 400 ชุด
    2. จัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ในโปรแกรมออนไลน์ อย่างน้อย 2 แผนงานต่อกองทุน (แผนงบปี 2566 และงบปี 2567)
    3. พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะในโปรแกรมออนไลน์  อย่างน้อย 2 โครงการต่อแผนงาน
      (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน)
    4. ได้รับอนุมัติงบประมาณจากกองทุน และมีการติดตามประเมินผลโครงการในโปรแกรมออนไลน์  (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน)

 

คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 1) 26 ม.ค. 2566 26 ม.ค. 2566

 

สถานที่จัดกิจกรรม/ประชุม  ณ ห้องประชุมใสสว่าง ชั้น ๒ อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม  • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต ๘ / ระดับอำเภอ • ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบลและผู้แทนประชาชนในจำบล จาก ๕  พื้นที่เป้าหมายคือ           ๑.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๒. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๓. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๔. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๕. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร รวมจำนวน  ๒0 คน รายละเอียดการจัดกิจกรรม  คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล ๕ ตำบลเป้าหมาย  การประชุมประกอบด้วยการบรรยาย พูดคุยซักถามและฟังข้อเสนอแนะ  แนวทางการเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามทั้ง ๑o ประเด็น (ด้านอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุทางถนน สุขภาพจิต ขยะ สิ่งแวดล้อม)

 

ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต ๘ / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผู้เข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการฯ    การเก็บข้อมูลตามแบบสำรวจและสามารถนำแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ในระดับรายบุคคล จำนวนตำบลละ ๒oo คน
รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ ๑oo ครัวเรือน และรายกองทุน จำนวนตำบลละ ๑ กองทุน
(จากการติดตามสอบถามและตรวจสอบในระบบ)

 

คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 2) 7 ก.พ. 2566 7 ก.พ. 2566

 

วัตถุประสงค์    เพื่อชี้แจง ทำความเข้าใจร่วมกัน วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ การใชเ้ครื่องมือแบบสอบถามกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ 5 ตำบล (5 กองทุน) ใน 10 ประเด็น รวมถึงขั้นตอน กระบวนการทำงานทั้งในระบบออนไลน์และออนไซท์ การออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล 5 ตำบล (5 กองทุน) การแนะนำทีมงานพี่เลี้ยง ระดับอำเภอเมืองสกลนคร การแนะนำทีมงานผู้ปฎิบัติงานระดับพื้นที่ตำบล 5 ตำบล (ครั้งที่ 2) กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อท่ี 1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาล ชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ สถานที่จัดกิจกรรม/ประชุมณ    ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น 5 อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม  • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอ • ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบลและผู้แทนประชาชนในจำบล จาก 5  พื้นที่เป้าหมายเขตอำเภแเมืองสกลนคร จ.สกลนครคือ           1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม
2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง
4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน
5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
รวมจำนวน  34 คน รายละเอียดการจัดกิจกรรม  1. คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประชุมชีแ้จงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล  ตำบลเป้าหมาย การประชุมประกอบด้วยการบรรยาย พูดคุยซักถาม และฟังข้อเสนอแนะ  แนวทางการเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามทั้ง 10 ประเด็น (ด้านอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุทางถนน สุขภาพจิต ขยะ สิ่งแวดล้อม) โดย ผศ.ดร. พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีแ้จง ความเป็นมา วัตถุประสงค์ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ
2. ทีมงานระดับพืน้ที่ตำบลทั้ง 5 ตำบล/กองทุน นำเสนอผลการเก็บข้อมูลในเบื้องต้น  แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจแบบสอบถามและวางแผนในการเก็บข้อมูลในพืน้ที่ต่อไป

 

1,ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต  / ระดับอำเภอ และทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือใน การเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผูเ้ข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการฯ สามารถ เก็บข้อมูลตามแบบสำรวจและสามารถนำแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้องในระดับรายบุคคล จำนวนตำบลละ 200+ คน  รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ 100+ ครัวเรือน และรายกองทุน จำนวนตำบลละ 1 กองทุน
2. ทีมพีเีลี้ยงฯ ติดตามเยี่ยมให้คำแนะนำและเสริมพลังในการลงพ้ืนที่ของทีมงานระดับพืน้ที่แต่ละตำบล  คาด ว่าการเก็บข้อมูลและการนำเข้าข้อมูลในระบบออนไลน์จะแล้วเสร็จตามกำหนดภายในเดือน กุมภาพันธ์ 2566      3. ทีมพี่เลี้ยงฯ บริหารจัดการแบบสอบถาม โดยการปริ้นเอกสารใหก้ับทีมตำบลเพื่อลงไปเก็บข้อมูล แทนการ ใช้โทรศัพท์มือถือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว มชในการสอบถามและเก็บข้อมูล โดยหลังจากเก็บข้อมูลแล้ว ทีมงาน ตำบลจึงนำข้อมูลจากเอกสารที่ปริ้นเอ้าท์ มากรอกข้อมูลในระบบออนไลน์ต่อไป
4. ปัญหา อุปสรรค มีเพียงเล็กน้อย เช่น การคีย์ข้อมูลบางแผนงานที่ไปเกี่ยวข้องกับอายุของกลุ่มตัวอย่าง ที่ จะไม่มีขอ้มูลเนื่องจากอายุของกลุ่มตัวอย่างไม่ถึงเกณฑ์บางแผนงาน
5. ทีมงานพี่เลีย้งฯ ขอใหท้ีมงานตำบลเก็บข้อมูลในเชงิคุณภาพที่พบเห็ยระหว่างการลงพืน้ที่เก็บข้อมูล เช่น พบ เห็นการเผาตอซังข้าว พบเห็นการใช้สารเคมีฉีดพ่นพืชผัก รวมถึงการจดบ้านเลขที่ที่ไปสอบถามข้อมูล เผ่อือาจเป็น ประโยชน์ต่อการทำวิจัยต่อยอดเชิงลึกต่อไปในอนาคต

 

พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 2) 21 เม.ย. 2566 21 เม.ย. 2566

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับต าบลและอ าเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชนประจ าปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสกลนคร เพื่อจัดประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจร่วมถึงเป้าหมายการดำเนินงานตามโครงการ และนำเสนอผลการเก็บข้อมูลในเบื้องต้นของทีมงานระดับพื้นที่ตำบล (กองทุนสุขภาพระดับตำบล) ณ ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น 5 อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร     1. คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมการชี้แจงการใช้เครื่องมือเพื่อเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ชุมชน โดย         1.1 ตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ทุกประเด็นจากการสอบถามแบบสำรวจ         1.2 ตรวจสอบตัวชี้วัด 80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง           1.2.1 คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุน โดย ดร.ปทมุทิพย์ ม่านโคกสงู หัวหน้าศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนคร           1.2.2 พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล ตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ทุกประเด็นจากการสอบถามแบบสำรวจและตรวจสอบตัวชี้วัด 80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผน กองทุนของตนเอง

 

ทีมงานพี่เลี้ยงระดับเขต 8 / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผู้เข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดำเนินการตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ทุกประเด็นจากการ สอบถามแบบสำรวจ และตรวจสอบตัวชี้วัด 80 ตัวชั้วัดของกองทุนตนเอง สามารถคำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกประเด็นปัญหาเพื่อการจัดทำาแผนงาน โครงการ ของกองทุนสุขภาพระดับตำบลได้ต่อไป

 

พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 3-7) 10 พ.ค. 2566 10 พ.ค. 2566

 

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม…จัดประชุมทบทวนตรวจสอบ 10  แผนงาน  80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง  คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด  เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุนตำบล วันที่ 10 พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง วันที่ 11 พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลท่าแร่ วันที่ 18 พฤษภาคม 2566  ณ ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น ๕ อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร วันที่ 19  พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลงิ้วด่อน วันที่ 26  พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลธาตุนาเวง ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต ๘
• ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบล  พื้นที่เป้าหมายคือ           1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร รวม 8 คน 2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร  รวม  6  คน 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร            รวม 7  คน 4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร                รวม  9  คน 5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร  รวม  6  คน คณะทำงานจัดประชุมทบทวนตรวจสอบ 10  แผนงาน  80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง
-คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด  เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุน โดย ดร.ปทมุทิพย์  ม่านโคกสงู หัวหน้าศูนย์ประสานสมัชชาสุขภาพฯ และทีมงาน -พิจารณาขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุนของตนเองให้มีความเชื่อมโยงของส่วนประกอบในการทำแผน (สถานการณ์  วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด  แนวทาง/วิธีการสำคัญ  งบประมาณ  โครงการที่ควรดำเนินการ  โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุน โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อติดตาม) -ให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นในการทำแผนกองทุน

 

-ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมทบทวนตรวจสอบ 10  แผนงาน  80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง  ทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ พูดคุยแลกเปลี่ยนทำให้พื้นที่มีความเข้าใจในการคำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด  นำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุนตำบล