สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 1-6

ประชุมการถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ กองทุนสมัครใจ จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 317 กรกฎาคม 2566
17
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย เพชรรุ่งเขต1
  • 4r3.jpg
  • 3r3.jpg
  • 2r3.jpg
  • 2r3.jpg
  • _แผน เขต3 _17 กค.66_.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3   1.2 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่และร้องกวาง จังหวัดแพร่ พื้นที่เขต1 จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน แต่ละกองทุนจำนวน 6 กองทุน สรุปผล       1.4 ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโครงการและการบันทึกกิจกรรมโครงการของกองทุนอำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว  จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3   2. ถอดบทเรียนการจัดทำแผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนอำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว  จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 7 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล อำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว  จำนวน  10 กองทุน แต่ละพื้นที่จัดทำแผน 11 ประเด็น รวม 101 แผน พัฒนาโครงการ 22 โครงการ พบแผนที่ยังลงรายละเอียดได้ไม่สมบูรณ์คือแผนงาน ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
3.มีพี่เลี้ยงที่มีความรู้ความเข้าใจในการทำแผนงานและโครงการคือพี่เลี้ยงอำเภอ 4  คน พี่เลี้ยงพื้นที่ 3 คน  ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานคือ 1. ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินงาน เนื่องจาก ภารกิจงานของพี่เลี้ยง ของกองทุน 2. จนท.มีการเปลี่ยนแปลงโยกย้าย เปลี่ยนงาน 3. บางพื้นที่ยังไม่มีการทำแผนสุขภาพและจัดทำโครงการ