สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 1-6

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กองทุนศูนย์เรียนรู้ 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

กองทุนสมัครใจเข้าร่วม 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมผู้ประสานงานเขต พี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ในเขต 1 - 6 30 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565

 

ประชุมชี้แจงโดยผู้ประสานงานเขต1 -6 แก่ผู้ประสานงานเขต พี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ในเขต1และ3-6  และสปสช.ในเขต1และ 3-6  จำนวน 22 คน จำแนกเป็นร่วมในห้องประชุ 13 คนและออนไลน์ 9 คน • แจ้งทิศทางสำคัญของการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เขต 1 -6  เป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทาง และขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ แผนการบริหารจัดการโครงการฯเขต
        โดย นายสุวิทย์ สมบัติ  ผู้ประสานงานโครงการเขต 1-6 • แจ้งแนวทางการประสานงาน  การหนุนเสริมและสนับสนุนโครงการ การจัดทำแผนปฏิบัติการของโครงการในแต่ละพื้นที่ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์  ดังนี้ แผนการบริหารจัดการโครงการฯ การหนุนเสริมและสนับสนุนโครงการ ใน 3 กิจกรรมหลักคือ  1.เสริมพลังในการดำเนินงานของทีมพี้เลี้ยงอำเภอ/พชอ./อบต/เทศบาล/รพสต. 2. เสริมพลังในการดำเนินงานของกองทุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลและ 3. การสังเคราะห์บทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานของทีมพี่เลี้ยงและกองทุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยมีการจัดทำแผนปฏิบัติการของโครงการฯในแต่ละเขต ในภาพรวมเขต1 จะดำเนินการบริหารจัดการการเงินให้ทั้ง 6 เขตโดยจะมีการยืมงบประมาณ เดือนละ 1 ครั้ง ดังนั้น แนวทางการประสานงาน  รายละเอียดการจัดประชุมทีมเขต1จะประสานพื้นที่โดยประสานตรงกับผู้ประสานแต่ละเขตจัดตารางปฏิบัติการล่วงหน้าเพื่อสะดวกในการจัดสรรงบประมาณ และเตรียมทีมในการหนุนเสริม • แลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการบริหารจัดการงานโครงการฯในพื้นที่แต่ละเขต โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด • คัดเลือกกองทุนฯ ศูนย์เรียนรู้.  คัดเลือกกองทุนฯ ขยายผล • การจัดทีมพี่เลี้ยง

 

•  ได้พื้นที่ยกระดับกองทุนฯ เป็นศูนย์เรียนรู้ใน ใน 2 เขต  4 อำเภอ 37 กองทุน ดังนี้
        เขตสุขภาพที่ 1 จำนวน 2  อำเภอ 20 กองทุนคืออำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ และ อำเภอเมืองพะเยา อำเภอละ 10 กองทุน
        เขต 3  จำนวน 2  อำเภอ จำนวน 17 กองทุน คืออำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท จำนวน 9 กองทุน และอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 8 กองทุน • ได้พื้นที่กองทุนขยายผลที่สนใจในเขต 1 - 6 จำนวน  35 กองทุนยกเว้น เขต 2  ไม่ได้เข้าร่วมประชุมเนื่องจากติดภารกิจ มีกองทุนเข้าร่วมดังนี้               เขต1 จำนวน 10 กองทุน  1 ตำบลทุงโ้ฮ้ง อำเภอเมือง  2,3 ตำบลต้าผามอก ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง 4,5 ตำบลวังหลวง เทศบาลหนองม่วงไข่ และ 5 กองทุน อำเภอร้องกวาง               เขต 3  จำนวน 10 กองทุน อำเภอบรรพตพิสัย  5 กองทุน อำเภอเก้าเลี้ยว 5 กองทุน จังหวัดนครสวรรค์               เขต 4  จำนวน 5 กองทุน อำเภอบางใหญ่  จังหวัดนนทบุรี
                เขต 5  จำนวน 5 กองทุน  อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี                 เขต 6  จำนวน 5 กองทุน  อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ • การเตรียมพี่เลี้ยงในส่วนของพี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงโดยแต่ละเขตมีผู้ประสานหลัก 1-2 คน

 

ประชุมความร่วมมือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ สูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต1 14 ธ.ค. 2565 14 ธ.ค. 2565

 

นายอำเภอกล่าวต้อนรับและเปิดประชุม เลขาพชอ นำเสนอการขับเคลื่อนพชอ. ผู้ประสานเขตชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567    กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็นการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แผนการบริหารจัดการโครงการฯ แนวทางการประสาน การหนุนเสริมและสนับสนุนโครงการ การจัดทำแผนปฏิบัติการของโครงการในแต่ละพื้นที่เป้าหมาย จังหวัดแพร่ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานในพื้นที่ ตามเป้าหมายที่วางไว้  10 กองทุน แต่เนื่องจากอำเภอสูงเม่นมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล จำนวน  13 กองทุน ซึ่งอาจจะมีการดำเนินงานครอบคลุมทั้งอำเภอ

 

มีการจัดประชุมความร่วมมือกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) จำนวน 1 ครั้ง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานในการสร้างความร่วมมือกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการตามตัวชี้วัด คือ ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ของอำเภอสูงเม่น จำนวน 10 กองทุน  พชอ.สูงเม่นมีการขับเคลื่อนประเด็นเดิม3 ประเด็นในปี2566คือ 1.การพัฒนาคุณภาพชีวิตสูงอายุ 2.การแก้ไขยาเสพติดแบบมีส่วนร่วม 3 .ปัญหาสุขภาพจิตและการป้องกันการฆ่าตัวตาย ประเด็นขับเคลื่อนต่อเนื่องจากปี2565 คือการบริหารจัดการขยะและการแก้ไขปญหาอุบัติเหตุทางท้องถนน

 

ประชุมความร่วมมือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขต1 16 ธ.ค. 2565 16 ธ.ค. 2565

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567    กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอในประเด็นวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567  แผนการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย  การกำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่และ การใช้โปรแกรมกองทุนตำบลโดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ
2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานในพื้นที่ ตามเป้าหมายที่วางไว้  10 กองทุน

 

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมคือ ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอเมือง  จ.พะเยา  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา  ผู้รับผิดชอบงานกองทุน องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา ผู้รับผิดชอบ /หน่วยงานที่เข้าร่วม  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง พะเยา  องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา องค์การบริหารส่วนตำบล  รพ.สต. รวมจำนวนผู้เข้าประชุม 20  คน มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการตามตัวชี้วัด คือ ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ของอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา จำนวน 10 กองทุน

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมพี่เลี้ยง จังหวัดและพื้นที่จังหวัดแพร่ 23 ธ.ค. 2565 23 ธ.ค. 2565

 

๑.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567    กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอประเด็นที่มา ความสำคัญของโครงการ วัตถุประสงค์โครงการ  เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงานของพื้นที่ และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล ๒.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กำหนดเป้าหมายร่วมกัน
สรุปการประชุม  เป้าหมายพื้นที่ในการดำเนินการ จำนวน 10 กองทุน ได้แก่ อำเภอร้องกวาง 5 กองทุน
                      อำเภอหนองม่วงไข่ 2กองทุน อำเภอลอง 2 กองทุน อำเภอเมืองแพร่ 1 กองทุน

 

การจัดประชุมพัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและอำเภอ จำนวน 1 ครั้ง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานโครงการ ฯ ในพื้นที่เป้าหมายกองทุนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ ของจังหวัดแพร่ จำนวน 10 กองทุน มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอสูงเม่น ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับ อำเภอ ตำบล ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล  ได้มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการ และพี่เลี้ยงได้รับการพัฒนาศักยภาพให้มีความเข้าใจในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนฯ รวมถึงการบันทึกและและตรวจสอบ ติดตามข้อมูลในระบบ

 

ประชุมประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และทีมพี่เลี้ยงในเขต 2 และ3 7 ม.ค. 2566 7 ม.ค. 2566

 

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ 2) เพื่อวางแผนการจัดทำแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต และ 3

1.ชี้แจงทิศทางสำคัญของการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เขต 1 -6  ดังนี ทิศทางสำคัญของการดำเนินงานโครงการ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทาง และขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ  แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ เป็นศูนย์เรียนรู้ ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 3 และ แผนการบริหารจัดการกองทุนสมัครใจในพื้นที่เขตสุขภาพที่2 และ 3 โดย นายสุวิทย์ สมบัติ  ผู้ประสานงานโครงการเขต 1-6

2.แนวทางการประสานงาน  การหนุนเสริมและสนับสนุนโครงการ การจัดทำแผนปฏิบัติการของโครงการในเขต 2,3
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3.แลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการบริหารจัดการงานโครงการฯในพื้นที่ 2 และ 3 การใช้ประโยชน์จากโปรแกรมกองทุนตำบลและ ความสอดคล้องกับการบันทึกข้อมูลของโปรแกรมบันทึกข้อมูลสปสช. โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัดและทีม 4.การคัดเลือกพื้นที่สนใจ การเตรียมพี่เลี้ยง 5.สรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ ุ6.สอบถามจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมชี้แจงการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผ่านzoom meetingในวันที่11 มกราคม 2566

 

1.มีการจัดประชุมความร่วมมือกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องระดับเขต จังหวัด อำเภอและตำบลเขต 2,3 จำนวน 1 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมประชุม 17 คน ประกอบด้วย ผู้ประสานงานระดับเขต (สป.สช. เขต 2 พิษณุโลก , สป.สช.เขต3 นครสวรรค์)  ผู้ประสานงานระดับจังหวัด  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ของจังหวัดในเขต 3 ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดชัยนาทและจังหวัดพิจิตร  หน่วยงานที่เข้าร่วม  มูลนิธิร่วมพัฒนาพิจิตร  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาทและ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรรพตพิสัยและ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
2. มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการตามตัวชี้วัด คือ ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น  ในพื้นที่อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  จำนวน 10 กองทุนและอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท จำนวน 7 กองทุน และกองทุนเปิดรับทั่วไป ของอำเภอบรรพตพิสัย  จังหวัดนครสวรรค์  จำนวน 5 กองทุน และอำเภอเก้าเลี้ยว  จังหวัดนครสวรรค์  จำนวน 5 กองทุน 3.จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมชี้แจงการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผ่านzoom meetingในวันที่11 มกราคม 2566 ของเขต 2 และ 3 จำนวน 12 คน

 

การพัฒนาศักยภาพกองทุนสมัครใจ วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลกองทุน จังหวัดแพร่ เขต 1 27 ม.ค. 2566 27 ม.ค. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567    กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น รายละเอียดของการดำเนินงาน  ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองปฎิบัติการจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯที่สมัครใจของจังหวัดแพร่ 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการคัดเลือกพื้นที่ การดำเนินงานในพื้นที่และแผนการดำเนินงานต่อไป

 

  1. ได้กองทุนฯโดยความสมัครใจในพื้นที่จังหวัดแพร่ เขต 1 จำนวน 8 กองทุน ในพื้นที่หนองม่วงไข่ เมืองแพร่และร้องกวาง คือ 1.เทศบาลตำบลร้องกวาง 2.เทศบาลตำบลบ้านเวียง 3.อบต แม่ทราย 4.อบต แม่ยางฮ่อ 5.อบต แม่ยางร้อง 6.เทศบาลหนองม่วงไข่ 7.อบต.วังหลวง 8.เทศบาลทุ่งโฮ้งจากเป้าหมายที่กำหนดไว้ 11 ตำบล มีการยกเลิกพื้นที่ 3 ตำบลในพื้นที่อำเภอลองคือตำบลต้าผามอกและบ้านปิน และอำเภอร้องกวาง คืออบต.ร้องกวางเนื่องจากพื้นที่ไม่พร้อมเข้าร่วมโครงการ
  2. พี่เลี้ยงพื้นที่และผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลที่เข้าร่วมประชุม 15 คน ประกอบด้วยสาธารณสุขอำเภอหนองม่วงไข่ สาธารณสุขอำเภอลอง ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ 3 อำเภอ    ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบล รวมจำนวนผู้เข้าประชุม 22 คนมีความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ ที่สมัครใจของจังหวัดแพร่

 

สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจจังหวัดแพร่ เขต1 28 ม.ค. 2566 28 ม.ค. 2566

 

ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567
กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ รายละเอียดของการดำเนินงาน ปี2566 โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ใน 10 ประเด็น
แนวทางการจัดเก็บข้อมูล โดย เสนอแนะการจัดเก็บใน2 วิธี คือการจัดเก็บโดยใช้แบบสอบถาม หรือจัดเก็บโดยใช้ มือถือ ควรmapping พื้นที่ในการลงสอบถามให้กระจายทั่วตำบล/ เทศบาล รายบุคคลรายครัวเรือนต้องไม่ซำ้ กันไม่อธิบายข้อคำถามในประเด็น การจัดการระบบอาหาร กิจกรรมทางกาย การจัดการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ สารเสพติด การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษทางอากาศ การจัดการขยะ และการป้องกันโรคอุบัติใหม่ วิธีการจัดเก็บข้อมูลชุมชน จำนวน 52 ข้อ รายครัวเรือน 5 ข้อ รายบุคคล 24 ข้อและการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ

 

ผู้เข้าร่วมประชุม กองทุนละ1 -2 คน จำนวน 8 กองทุน มีผู้เข้าร่วม 15 คน ขอยกเลิก 3 กองทุน มีการจัดเก็บข้อมุลใน 8 กองทุนได้ ดังนี้   1.เทศบาลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมืองแพร่ ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล   2.เทศบาลร้องกวาง ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 3.บ้านเวียง ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 4.แม่ยางร้อง ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 5.แม่ยางฮ่อ ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 6.อบต.แม่ทราย ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 7.อบต.วังหลวง อำเภอหนองม่วงไข่ ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 8.เทศบาลหนองม่วงไข่ อำเภอหนองม่วงไข่ ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล

 

การพัฒนาศักยภาพการพัฒนาศักยภาพ วิเคราะห์ จัดเก็บข้อมูลกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต 1 3 ก.พ. 2566 3 ก.พ. 2566

 

1.สาธารณสุขอำเภอสูงเม่น รายงาน และนายอำเภอสูงเม่นกล่าวเปิดและต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม2.ประชุมชี้แจง โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น วัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567  กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ รายละเอียดของการดำเนินงาน  ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนนำร่อง (ศูนย์เรียนรู้) ของอำเภอ สูงเม่น เขต 1  กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น รายละเอียดของการดำเนินงาน  ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม และการใช้application  การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ นำร่อง  ทั้ง10 ประเด็น แผนการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย  การกำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบลโดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ
3.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานในพื้นที่ ตามเป้าหมายที่วางไว้

 

สาธารณสุขอำเภอสูงเม่น ท้องถิ่นอำเภอสูงเม่น  ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 34 คน ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอสูงเม่น ท้องถิ่นอำเภอสูงเม่น  ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
หน่วยงานที่เข้าร่วม  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่  องค์การบริหารส่วนตำบล  รพ.สต. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น  จ.แพร่  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบล โดยได้มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการตามตัวชี้วัด คือ ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ของอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ตามเป้าหมายที่วางไว้ จำนวน 10 กองทุน แต่มีกำหนดพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งอำเภอ อีก 3 กองทุน รวม13 กองทุน

 

สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนนำร่อง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต1 4 ก.พ. 2566 4 ก.พ. 2566

 

1ประชุมชี้แจงโดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น วัตถุประสงค์ กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ แนวทางการจัดเก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการคัดเลือกพื้นที่ 3. สัมภาษณ์บุคคลอายุ15 ปีขึ้นไปในชุมชนพื้นที่กองทุนละอย่างน้อย 300 คนใน13 กองทุน รวม 4200 ชุดข้อมูล

 

1มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 34 คน ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอสูงเม่น ท้องถิ่นอำเภอสูงเม่น  ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
2. พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน มีทักษะและสามรถจัดเก้บข้อมูลในชุมชน  รายครัวเรือนและบุคคล จำนวน 3900 ชุดข้อมูล ใน13พื้นที่ ดังนี้ 1.หัวฝาย  อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 2.บ้านกวาง อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 3.ดอนมูล อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 4.บ้านเหล่า อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 5.พระหลวง อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 6.สูงเม่น อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 7.ร่องกาศ อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 8.เวียงทอง อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 9.บ้านกาศ อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 10.บ้านปง อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 11.ท.สูงเม่น อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 12.น้ำชำ อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ 13.สบสาย อำเภอสูงเม่น จ.แพร่

 

การพัฒนาศักยภาพกองทุนสมัครใจ วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลกองทุน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 7 ก.พ. 2566 7 ก.พ. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567    กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น รายละเอียดของการดำเนินงาน  ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯที่สมัครใจของจังหวัดพิษณุโลก เขต 2 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการคัดเลือกพื้นที่ การดำเนินงานในพื้นที่และแผนการดำเนินงานต่อไป

 

  1. ได้กองทุนฯโดยความสมัครใจในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 จำนวน 6 กองทุน
  2. พี่เลี้ยงพื้นที่และผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลที่เข้าร่วมประชุม  13 คน สาธารณสุขอำเภอพรหมพิราม ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอพรหมพิราม  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่
    ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบล  รวมจำนวนผู้เข้าประชุม  20  คน มีความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ ที่สมัครใจของจังหวัดพิษณุโลก เขต 2

 

การพัฒนาศักยภาพการพัฒนาศักยภาพ การจัดเก็บข้อมูลกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขต 1 8 ก.พ. 2566 8 ก.พ. 2566

 

1.ทีมพี่เลี้ยงเขต กล่าวรายงาน และนายอำเภอเมืองพะเยากล่าวเปิดและต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม 2.ประชุมชี้แจง โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น วัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567  กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ รายละเอียดของการดำเนินงาน  ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนนำร่อง (ศูนย์เรียนรู้) ของอำเภอ เมืองพะเยาเขต 1
2. กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ แนวทางการจัดเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม และการใช้application  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ นำร่อง  ทั้ง10 ประเด็น แผนการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย

 

1.ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 31 คน ประกอบด้วย ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอเมือง  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
2.หน่วยงานที่เข้าร่วม  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, อบจ.พะเยา, รพ.สต.  อบต.(กองทุนตำบล)
ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจและมีทักษะในการจัดเก็บข้อมูล มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการตามตัวชี้วัด คือ ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ของอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จำนวน 10 กองทุน เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งอำเภอมีกำหนดพื้นที่เพิ่มเติม อีก 4 กองทุน รวม14 กองทุน

 

สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 8 ก.พ. 2566 8 ก.พ. 2566

 

ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567  กำ หนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น รายละเอียดของการดำเนินงาน ปี2566
แนวทางการจัดเก็บข้อมูล โดย เสนอแนะการจัดเก็บใน2 วิธี คือการจัดเก็บโดยใช้แบบสอบถาม หรือจัดเก็บโดยใช้ มือถือ ควรmapping พื้นที่ในการลงสอบถามให้กระจายทั่วตำบล/ เทศบาล รายบุคคลรายครัวเรือนต้องไม่ซำ้ กันไม่อธิบายข้อคำถามวิธีการจัดเก็บข้อมูลชุมชน จำนวน 52 ข้อ รายครัวเรือน 5 ข้อ รายบุคคล 24 ข้อและการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ และะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลใน10 ประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ

 

ผู้เข้าร่วมประชุม กองทุนละ1 -2 คน จำนวน 6 กองทุน มีผู้เข้าร่วม 20 คน สาธารณสุขอำเภอพรหมพิราม ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอพรหมพิราม ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบล มีกองทุนเข้าร่วมเพิ่ม1 กองทุน รวม 6 กองทุน
มีการจัดเก็บข้อมุลใน 6 กองทุนได้ ในบุคคลอายุ15 ปีขึ้นไปดังนี้   1.อบต.มะตูม อำเภอพรหมพิราม ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 2.อบต.ท่าช้าง อำเภอพรหมพิราม ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล 3.อบต.หนองแขม อำเภอพรหมพิราม ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล
4.อบต.หนองแขม อำเภอพรหมพิราม ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล
5.อบต.ทับยายเชียง อำเภอพรหมพิราม ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล
6.อบต.หอกลอง อำเภอพรหมพิราม ชุมชน 1 ชุดข้อมูล รายบุคคล 200 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน 100 ชุดข้อมูล

 

สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลในกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขต1 9 ก.พ. 2566 9 ก.พ. 2566

 

ประชุมชี้แจง โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น วัตถุประสงค์ กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ การใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล โดยการใช้แบบสอบถาม และการใช้application การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนนำร่อง (ศูนย์เรียนรู้) ทั้ง10 ประเด็น แผนการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย  ของอำเภอ เมืองพะเยาเขต 1

 

ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 31 คน ประกอบด้วย ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอเมือง  ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน /หน่วยงานที่เข้าร่วม  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, อบจ.พะเยา, รพ.สต.  อบต.(กองทุนตำบล)
การจัดเก็บข้อมูล โดยการใช้แบบสอบถาม และการใช้application ในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ นำร่อง  ทั้ง10 ประเด็น โดยสัมภาษณ์ในบุคคลอายุ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่14 กองทุนๆละ 300 คน รวม 4200 ชุดข้อมูล ในพื้นที่ดังนี้ ท่าจำปี ท่าวังทอง ต๋อม ต้ำ บ้านใหม่ ท.แม่กา แม่ปืม แม่ใส สันป่าม่วง เมืองพะเยา บ้านตุ่น จำป่าหวาย แม่นาเรือ บ้านสาง

 

การพัฒนาศักยภาพกองทุนสมัครใจ วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลกองทุน จังหวัดนครสวรรค์ เขต 3 10 ก.พ. 2566 10 ก.พ. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567  กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น รายละเอียดของการดำเนินงาน ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนสมัครใจ อำเภอเก้าเลี้ยว อำเภอบรรพตพิสัย เขต 3  กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น รายละเอียดของการดำเนินงาน ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ แผนการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย  การกำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบลโดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ

 

ผู้เข้าร่วมประชุใปรกอบด้วย ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบล ผู้รับผิดชอบงานกองทุน  อบจ. นครสวรรค์ /หน่วยงานที่เข้าร่วม  สปสช.เขต 3 อบจ. นครสวรรค์  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ  รพ.สต. รวมจำนวนผู้เข้าประชุม  25 คน  ดังนี้   1.กองทุนสมัครใจ อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 8  คน 2.กองทุนสมัครใจ อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์  จำนวน 11  คน  3.อบจ. นครสวรรค์ จำนวน  2 คน 4.พี่เลี้ยงเขต พื้นที่ เขต 3 จำนวน  4 คน การวิเคราะห์ข้อมูล ทดลองบันทึกการจัดเก็บข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯในพื้นที่    มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 25 คน ประกอบด้วย ผู้ประสานงานเขต  ผู้ประสานงานระดับจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต.  ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
หน่วยงานที่เข้าร่วม  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอโพทะเล อำเภอเก้าเลี้ยว อำเภอบรรพตพิสัย และอำเภอสรรคบุรี, รพ.สต.  อบต.(กองทุนตำบล)  โดยได้มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการตามตัวชี้วัด คือได้กองทุนสมัครใจเข้าร่วมโครงการ คือ อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน  5 กองทุน และอำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 5 กองทุน รวม 10 กองทุน

 

สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเลและอำเภอสรรคบุรี เขต 3 11 ก.พ. 2566 11 ก.พ. 2566

 

1ประชุมชี้แจงโดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น
                        ชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทาง การจัดสรรงบประมาณ และขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
                                    โดย นายสุวิทย์ สมบัติ  ผู้ประสานงานโครงการเขต 1-6                       ทบทวนแผนการหนุนเสริมและสนับสนุนบริหารจัดการกองทุนสมัครใจในพื้นที่
                                  โดย นายสุวิทย์ สมบัติ  ผู้ประสานงานโครงการเขต 1-6                       แลกเปลี่ยนเรียนรู้รายละเอียดประเด็นในการจัดเก็บข้อมูลใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา
                      6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต5. ประเด็นสุรา 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่ และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน                                   โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และทีมพี่ลี้ยงเขต                     ฝึกปฏิบัติทดลองบันทึกข้อมูลในโปรแกรม การจัดเก็บข้อมูลใน 10 ประเด็น                                 โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัดและทีม 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการจัดเก็บข้อมูล 3. สัมภาษณ์บุคคลอายุ15 ปีขึ้นไปในชุมชนพื้นที่กองทุนละอย่างน้อย 300  คนใน 22  กองทุน รวม 6,600 ชุดข้อมูล

 

มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 27 คน ประกอบด้วย ผู้ประสานงานเขต  ผู้ประสานงานระดับจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต.  ผู้รับผิดชอบงานกองทุน /หน่วยงานที่เข้าร่วม  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอโพทะเล  และอำเภอสรรคบุรี, รพ.สต.  อบต.(กองทุนตำบล)  โดยได้มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันที่จะดำเนินการตามตัวชี้วัด คือ (1) ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ของ อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท จำนวน 9 กองทุน และอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จำนวน 8 กองทุน แต่มีกำหนดพื้นที่เพิ่มเติม อีก 5 กองทุนเพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งอำเภอโพทะเล  รวม 22  กองทุน  ทั้ง2 อำเภอมีการจัดเก็บข้อมูลชุมชน 22 ชุดข้อมูล รายครัวเรือน  2200  ชุดข้อมูล  รายบุคคล  4400 ชุดข้อมูล รวม 6,600 ชุดข้อมูล ดังนี้ 1.ท.เที่ยงแท้ อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 2.ท.ห้วยกรด อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 3.ท.โพงาม  อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 4.ท.แพรกศรีราชา อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 5.ท.ห้วยกรดพัฒนา อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 6.ท.ดงคอน  อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 7.ท.บางขุด  อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 8.ท.สรรคบุรี  อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 9.ท.ดอนกำ  อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 1.ท่าบัว  อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 2.ท่าขมิ้น  อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 3.บางคลาน  อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 4.ทะนง  อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 5.วัดขวาง  อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 6.บ้านน้อย  อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 7.ท่านั่ง  อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 8.อบต.ท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 9.ท.ท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 10.ท้ายน้ำ อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 11.อ.โพทะเล อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 12.ท.โพทะเล อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 13. ทุ่งน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

 

สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจบรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ เขต 3 11 ก.พ. 2566 11 ก.พ. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงโดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ในประเด็น วัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567
กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ รายละเอียดของการดำเนินงาน ปี2566 และการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯที่สมัครใจของ เขต3 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการคัดเลือกพื้นที่

 

มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย ผู้ประสานงานเขต  ผู้ประสานงานระดับจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล  ผอ.รพ.สต.  ผู้รับผิดชอบงานกองทุน สำนักงานสาธารณสุข อำเภอเก้าเลี้ยว อำเภอบรรพตพิสัย , รพ.สต.  อบต.(กองทุนตำบล)
กองทุนสมัครใจมีการจัดเก็บข้อมูลชุมชน ราบครัวเรือนและรายบุคคลในอำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน  5 กองทุน และอำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 5 กองทุน รวม 10 กองทุน ดังนี้ 1.บางตาหงาย อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
2.ท่างิ้ว อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
3.ตาขีด อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
4.ตาสัง  อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
5. อ่างทอง  อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
6. หัวดง  อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ 7.ท.เก้าเลี้ยว  อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ 8. หนองเต่า  อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ 9. เขาดิน  อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ 10 .มหาโพธิ  อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

 

การพัฒนาศักยภาพการพัฒนาศักยภาพ วิเคราะห์ จัดเก็บข้อมูลกองทุนสมัครใจอำเภอบ้านแหลม อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอบางใหญ่ เขต 4,5,6 22 ก.พ. 2566 22 ก.พ. 2566

 

ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567
กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ รายละเอียดของการดำเนินงาน ปี2566 โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ใน 10 ประเด็น
แนวทางการจัดเก็บข้อมูล โดย เสนอแนะการจัดเก็บใน 2 วิธี คือการจัดเก็บโดยใช้แบบสอบถาม หรือจัดเก็บโดยใช้ มือถือ ควรmapping พื้นที่ในการลงสอบถามให้กระจายทั่วตำบล/ เทศบาล รายบุคคลรายครัวเรือนต้องไม่ซำ้ กันไม่อธิบายข้อคำถามในประเด็น การจัดการระบบอาหาร กิจกรรมทางกาย การจัดการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ สารเสพติด การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษทางอากาศ การจัดการขยะ และการป้องกันโรคอุบัติใหม่ วิธีการจัดเก็บข้อมูลชุมชน จำนวน 52 ข้อ รายครัวเรือน 5 ข้อ รายบุคคล 24 ข้อและการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ

 

1ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 43 คน ประกอบด้วย ทีมผู้ประสานงาน เขต 1 – 6, ผู้ประสานงานเขต 4, ผู้ประสานงานเขต 5, ผู้แทนสาธารณสุขอำเภอบางใหญ่ จ.นนทบุรี , อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ , อำเภอบ้านแหลม จ.เพชรบุรี ,ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ ผอ.รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบล ดังนี้
      1) อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เขต 4 จำนวน 9 คน       2) อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เขต 5 จำนวน 12 คน       3) อำเภอพระสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปรการ เขต 6 จำนวน 10 คน       4)    ทีมผู้ประสานงานเขต จังหวัด อำเภอและพี่เลี้ยงพื้นที่ จำนวน 12 คน 2. พี่เลี้ยงพื้นที่และผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลที่เข้าร่วมประชุม 43 คน มีความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ แนวทางการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ ที่สมัครใจของ  เขต 4,5,6 3. ได้กองทุนฯโดยความสมัครใจในพื้นที่ เขต 4,5,6 จำนวน 19 กองทุน จากเป้าหมาย 15 กองทุน และ มีกองทุนที่ขอยกเลิกการเข้าร่วมโครงการ 1 กองทุน คือกองทุนเทศบาลตำบลบางเลน จังหวัดนนทบุรี

 

สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจ จัดเก็บข้อมูลกองทุนสมัครใจอำเภอบางใหญ่ และอำเภอบ้านแหลม อำเภอพระสมุทรเจดีย์เขต 4,5,6 23 ก.พ. 2566 23 ก.พ. 2566

 

ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบล และอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567
กำหนดเป้าหมายการทำงานในพื้นที่ รายละเอียดของการดำเนินงาน  ปี2566  โดยใช้สื่อ PPT นำเสนอ ใน 10 ประเด็น
แนวทางการจัดเก็บข้อมูล โดย เสนอแนะการจัดเก็บใน 2 วิธี คือการจัดเก็บโดยใช้แบบสอบถาม หรือจัดเก็บโดยใช้ มือถือ ควร mapping พื้นที่ในการลงสอบถามให้กระจายทั่วตำบล/ เทศบาล  รายบุคคลรายครัวเรือนต้องไม่ซำ้ กันไม่อธิบายข้อคำถามในประเด็น การจัดการระบบอาหาร กิจกรรมทางกาย การจัดการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ สารเสพติด การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษทางอากาศ การจัดการขยะ และการป้องกันโรคอุบัติใหม่  วิธีการจัดเก็บข้อมูลชุมชน จำนวน 52  ข้อ รายครัวเรือน 5  ข้อ รายบุคคล 24 ข้อและการใช้โปรแกรมกองทุนตำบล  การวิเคราะห์ข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองจัดเก็บข้อมูลในประเด็นที่กำหนดของกองทุนฯ

 

ผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลที่เข้าร่วมประชุม 28 คน มีความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ แนวทางการจัดเก็บข้อมูล และจัดเก็บข้อมุล ได้ 14 กองทุน ดังนี้ 1.ท.บางใหญ่ อำเภอบางใหญ่ จ.นนทบุรี 2.อบต.บางใหญ่ อำเภอบางใหญ่ จ.นนทบุรี 3.ทต.บ้านบางม่วง อำเภอบางใหญ่ จ.นนทบุรี 4.ท.เมืองบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จ.นนทบุรี 5.ท.พระสมุทรเจดีย์ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ 6.ท.แหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ 7.อบต.บ้านคลองสวน อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ 8.อบต.ในคลองปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ 9.อบต.คลองนาเกลือ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ 10.อบต.บางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จ.เพชรบุรี 11.อบต.ท่าแร้ง อำเภอบ้านแหลม จ.เพชรบุรี 12.อบต.แหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จ.เพชรบุรี 13.อบต.บางตะบูน อำเภอบ้านแหลม จ.เพชรบุรี 14.อบต.ท่าแร้งนอก อำเภอบ้านแหลม จ.เพชรบุรี

 

ประชุมประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เขต 1 บันทึกข้อตกลงอำเภอสูงเม่น 9 มี.ค. 2566 9 มี.ค. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567 โดยเน้นประเด็นการจัดทำบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
2.ลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่อง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จำนวน 13 กองทุน โดยมีนายอำเภอสูงเม่น สาธารณสุขอำเภอสูงเม่น  ท้องถิ่นอำเภอสูงเม่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาล  สูงเม่น ผู้ประสานงานเขต  ประธานชมรมกำนัน อำเภอสูงเม่น เป็นสักขีพยาน

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 27 คน 2.มีการลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่อง อำเภอ  สูงเม่น จังหวัดแพร่ จำนวน 13 กองทุน

 

ประชุมประสานความร่วมมือกับพชอ. เขต 1 บันทึกข้อตกลงเมืองพะเยา 10 มี.ค. 2566 10 มี.ค. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567 โดยเน้นประเด็นการจัดทำบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่องอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
2.ลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่อง อำเภอเมือง  จ.พะเยา จำนวน 14 กองทุน โดยมีนายอำเภอเมือง จ.พะเยา ท้องถิ่นอำเภอเมือง จ.พะเยา ปลัดอำเภอเมือง จ.พะเยา สาธารณสุขอำเภอเมือง จ.พะเยา  ผู้ประสานงานเขตเป็นสักขีพยาน

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 33 คน 2.มีการลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่อง อำเภอ  เมือง จังหวัดพะเยา จำนวน 14 กองทุน

 

การประชุมประสานความร่วมมือพชอ.โพทะเล จังหวัดพิจิตร เขต 3 (บันทึกข้อตกลงฯ) 31 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567 โดยเน้นประเด็นการจัดทำบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่องอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 2.ลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่อง โพทะเล จังหวัดพิจิตร จำนวน 13 กองทุน โดยมีนายอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร ท้องถิ่นอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร ปลัดอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  สาธารณสุขอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  ผู้ประสานงานเขตเป็นสักขีพยาน

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 26 คน 2.มีการลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่อง อำเภอ  โพทะเล จังหวัดพิจิตรจำนวน 13 กองทุน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจอำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่ และร้องกวาง จังหวัดแพร่ พื้นที่เขต 1 10 เม.ย. 2566 10 เม.ย. 2566

 

  1. นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่ และร้องกวาง จังหวัดแพร่
  2. แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่ และร้องกวาง จังหวัดแพร่ นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภออำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่ และร้องกวาง จังหวัดแพร่ จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด
  3. ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภออำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่ และร้องกวาง จังหวัดแพร่ ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน 4.ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 23 คน ประกอบด้วยสาธารณสุขอำเภอ ผู้ประสานงานเขต  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด/ อำเภอ/ ตำบล  ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลของเทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลในเขตพื้นที่อำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่ และร้องกวาง จังหวัดแพร่ ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงอำเภอ รวมจำนวนผู้เข้าประชุม  23 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  8 กองทุน จัดทำแผน 80 แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะยา จังหวัดพะเยา เขต 1 11 เม.ย. 2566 11 เม.ย. 2566

 

  1. นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
  2. แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา  นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่นจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด
  3. ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
  4. ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 32 คน ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลของเทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ในเขตพื้นที่อำเภออำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา  จำนวนผู้เข้าประชุม 32 คน
2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  14 กองทุน จัดทำแผน 140 แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต2 21 เม.ย. 2566 21 เม.ย. 2566

 

  1. นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
  2. แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
  3. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด
  4. ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
  5. ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม 16 คน ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอ ผู้ประสานงานเขต  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด/ อำเภอ/ ตำบล  ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลของเทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ในเขตพื้นที่อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงอำเภอ
2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  6 กองทุน จัดทำแผน 60 แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 24 เม.ย. 2566 24 เม.ย. 2566

 

นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอบางใหญ่ บ้านแหลมและพระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 1. แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอบางใหญ่ บ้านแหลมและพระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่นจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด 2. ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอบางใหญ่ บ้านแหลมและพระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน 3. ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม 46 คนประกอบด้วย ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงอำเภอสาธารณสุขอำเภอ ผู้ประสานงานเขต  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด/ อำเภอ/ ตำบล  ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลของเทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล สปสช. สสจ. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ บางใหญ่ บ้านแหลมและพระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 เทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล/  รพ.สต. ในเขตพื้นที่อำเภอบางใหญ่ บ้านแหลมและพระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 ดังนี้ อำเภอบางใหญ่ 5 คน บ้านแหลม 22 คน พระสมุทรเจดีย์ 8 คนและทีมพี่เลี้ยง 11  คน  รวมจำนวนผู้เข้าประชุม 46 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล อำเภอบางใหญ่ 2 กองทุน 2 กองทุนติดภาระกิจ  บ้านแหลม 10  กองทุนและพระสมุทรเจดีย์ 4 กองทุน 1 กองทุนติดภาระกิจ  รวม จำนวน 16  จัดทำแผน 160 แผน

 

ประสานความร่วมมือกับพชอ. และทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เขต 3 25 เม.ย. 2566 25 เม.ย. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการบูรณาการกลไกการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2566-2567 โดยเน้นประเด็นการจัดทำบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่องอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
2.ลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน สรรคบุรึ จังหวัดชัยนาท โดยมีนายอำเภอสรรคบุรึ ท้องถิ่นอำเภอสรรคบุรี และสาธารณสุขอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท ผู้ประสานงานเขตเป็นสักขีพยาน 3.นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอสรรคบุรี 4.แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอสรรคบุรี 5.นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่นจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด 6.ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสรรคบุรี ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน 7.ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม 33 คน ประกอบด้วย นายอำเภอสรรคบุรี  สาธารณสุขอำเภอสรรคบุรี  ท้องถิ่นอำเภอสรรคบุรี ผู้ประสานงานเขต  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด/ อำเภอ/ ตำบล  ผอ.รพ.สต. นายกเทศมนตรีตำบล นายกองค์การบริหารส่วนตำบล /หน่วยงานที่เข้าร่วม ที่ว่าการอำเภอสรรคบุรี  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสรรคบุรี  ท้องถิ่นอำเภอสรรคบุรี  เทศบาลตำบลองค์การบริหารส่วนตำบล  รพ.สต.
2.มีการลงนามบันทึกข้อตกลงสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน กองทุนนำร่อง สรรคบุรี จังหวัดชัยนาท จำนวน 9 กองทุน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร เขต 3 27 เม.ย. 2566 27 เม.ย. 2566

 

  1. นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอโพทะเล
  2. แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอโพทะเล
  3. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอโพทะเลจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด
  4. ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอโพทะเล ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
  5. ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล
  6. ชี้แจงแนวทางการติดตามการจัดแผนขอพี่เลี้ยงพื้นที่

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม 36 คน ประกอบด้วย สปสช.3 สาธารณสุขอำเภอโพทะเล ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด/ อำเภอ/ ตำบล  ผอ.รพ.สต. ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข เทศบาลตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล  รพ.สต. ในพื้นที่อำเภอโพทะเล 2. มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  13 กองทุน จัดทำแผน 130 แผน 3.ประชุมทีมพี่เลี้ยงพื้นที่ในการติดตาม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 4 คน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจ บรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3 27 เม.ย. 2566 27 เม.ย. 2566

 

  1. นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอบรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
  2. แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอบรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
  3. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่นจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด
  4. ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
  5. ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม 25 คน  ดังนี้ ผู้ประสานงานเขต ผู้ประสานงานระดับจังหวัด พี่เลี้ยงอำเภสาธารณสุขอำเภอ ผู้ประสานงานเขต สปสช.3  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด/ อำเภอ/ ตำบล  ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลของเทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล พื้นที่ อำเภอบรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบลเก้าเลี้ยวและบรรพตพิสัย อำเภอละ 5กองทุน รวม จำนวน 10  กองทุน จัดทำแผน 60 แผน

 

ประชุมพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต 1 28 เม.ย. 2566 28 เม.ย. 2566

 

  1. นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอสูงเม่น
  2. แผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอสูงเม่น
  3. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่นจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด
  4. ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
  5. ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน ดังนี้ สาธารณสุขอำเภอ ผู้ประสานงานเขต  พี่เลี้ยงพื้นที่ระดับจังหวัด/ อำเภอ/ ตำบล  ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลของเทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล /หน่วยงานที่เข้าร่วม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น เทศบาลตำบล/ องค์การบริหารส่วนตำบล/  รพ.สต. ในเขตพื้นที่อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  12 กองทุน ติดภารกิจ 1 กองทุน จัดทำแผน 120 แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต 1 10 พ.ค. 2566 10 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่นจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org  1.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน    2.3 ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 8 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 13 กองทุน 4 วันๆละ 3 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 13 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  42  คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  13 กองทุนได้แก่ กองทุน อบต.บ้านเหล่า อบต.น้ำชำ อบต.พระหลวง อบต.ดอนมูล อบต.ร่องกาศ อบต.สบสาย อบต.หัวฝาย อบต.บ้านกาศ อบต. เวียงทอง อบต.บ้านกวาง อบต.สูงเม่น อบต.บ้านปง และเทศบาลสูงเม่น  แต่ละพื้นที่มีการจัดทำแผนพื้นที่ละ  10 แผน รวม 130 แผน

 

พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนและการติดตามกองทุนสมัครใจอำเภอเมือง หนองม่วงไข่และร้องกวาง จังหวัดแพร่ พื้นที่เขต 1 11 พ.ค. 2566 11 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเมือง หนองม่วงไข่และร้องกวาง จังหวัดแพร่ จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 8 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 8 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 8 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  23 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  8 กองทุน ได้แก่ กองทุนเทศบาลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมือง  อบต.วังหลวงและเทศบาลหนองม่วงไข่ อำเภอหนองม่วงไข่ และเทศบาลตำบลร้องกวาง เทศบาลตำบลบ้านเวียง อบต แม่ยางร้อง  อบต แม่ยางฮ่อ และอบต แม่ทราย อำเภอร้องกวาง แต่ละพื้นที่จัดทำแผนพื้นที่ 10 แผน รวม  80 แผน

 

พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงการจัดทำแผนและการติดตาม กองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 13 พ.ค. 2566 13 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 5 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 13 กองทุน 4 วันๆละ 4 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 6 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  17 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  6 กองทุน ได้แก่ กองทุนอบต.มะต้อง อบต.หนองแขม อบต.หอกลอง อบต.ทับยายเชียง อบต.ท่าช้าง และ อบต.มะตูม แต่ละพื้นที่จัดทำแผนพื้นที่10 แผน รวม  60 แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขต 1 14 พ.ค. 2566 14 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอพะเยาจากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org  1.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน    2.3 ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 7 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 14 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 1ภ แห่งๆละ 2-3  คน รวม  45 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  14 กองทุน จัดทำแผน 140 แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร เขต 3 15 พ.ค. 2566 15 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภออำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org  1.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน    2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 7 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 13 กองทุน วันละ 4 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 13 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  35 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  13 กองทุน ได้แก่กองทุนเทศบาลตำบลโพทะเล ตำบลทุ่งน้อย ตำบลบางคลาน และตำบลท่าเสา  อบต.โพทะเล ท้ายน้ำ ทะนง ท่าบัว ท่าขมิ้น ท่าเสา วัดขวาง บ้านน้อย และท่านั่ง มีการจัดทำแผนใน 10แผน รวม 130 แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เขต 3 17 พ.ค. 2566 17 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสรรคบุรี จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund. 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ happynetwork.org  1.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน    2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 8 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 9 กองทุน  วันละ 3 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 9 แห่งๆละ 2-3  คน รวม 25 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  9 กองทุนได้แก่ กองทุนเทศบาลตำบลแพรกศรีราชา ฃฃตำบลสรรคบุรี ตำบลดงคอน  ตำบลห้วยกรด ตำบลบางขุด ตำบลโพงาม ตำบลดอนกำ ห้วยกรดพัฒนา และอบต.เที่ยงแท้              แต่ละพื้นที่มีการจัดทำแผนพื้นที่ละ  10 แผน รวม 90 แผน

 

พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงการจัดทำแผนและติดตามกองทุนสมัครใจอำเภอบรรพตพิสัยและเก้าเลี้ยว นครสวรรค์ เขต 3 22 พ.ค. 2566 22 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในพื้นที่อำเภอเก้าเลี้ยว และบรรพตพิสัย จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 7 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่อำเภอเก้าเลี้ยว 5 กองทุน และบรรพตพิสัย 5 กองทุน  รวม 10 กองทุน เยี่ยม 3 วันๆละ  2 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 10 แห่งๆละ 2-3  คน รวม 30  คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  10 กองทุน ได้แก่ อบต.เขาดิน อบต.หัวดง อบต.หนองเต่าอบต.มหาโพธิและเทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว และอบต.ตาขีด อบต.ตาสัง อบต.ท่างิ้ว อบต.อ่างทอง และอบต.บางตาหงาย อำเภอบรรพตพิสัย แต่ละพื้นที่จัดทำแผนพื้นที่ 10 แผน รวม 100 แผน

 

พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงการจัดทำแผนและการติดตามกองทุนสมัครใจ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เขต 5 24 พ.ค. 2566 24 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในพื้นที่ บ้านแหลม พื้นที่เขต5 จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
2.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 5 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่อำเภอบ้านแหลม 10 กองทุน วันละ  1-2 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 10 แห่งๆละ 2-3  คน รวม 24  คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  10 กองทุน ได้แก่ อบต.ปากทะเล อบต.แหลมผักเบี้ย อบต.บางตะบูน อบต.ท่าแร้ง อบต.บางครก อบต.ท่าแร้งออก อบต.บ้านแหลม อบต.บางขุนไทร อบต.บางแก้ว และ เทศบาลบางตะบูน อำเภอบ้านแหลม แต่ละพื้นที่จัดทำแผนพื้นที่ 7-10 แผน รวม 81  แผน

 

พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เขต 4 26 พ.ค. 2566 26 พ.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในพื้นที่บางใหญ่ บ้านแหลม พระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต4,5 และ 6 จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ฝึกปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน
      1.4 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 9 คน 2.จัดทำแผน 10 แผน รวม 40 แผน ในพื้นที่อำเภอบางใหญ่ 4 ได้แก่ เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง  อบต.บางแม่นาง อบต.บางใหญ่ เทศบาลตำบลบางใหญ่ อำเภอบางใหญ่

 

ประชุมการถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ กองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา พื้นที่เขต 1 9 ก.ค. 2566 9 ก.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เขต 1 1.2 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน แต่ละกองทุนจำนวน 14 กองทุน สรุปผล       1.4 ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโครงการและการบันทึกกิจกรรมโครงการของกองทุนในพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตสุขภาพที่ 1       2. ถอดบทเรียนการจัดทำแผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตสุขภาพที่ 1

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 12 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  14 กองทุน แต่ละพื้นที่จัดทำแผนรวม  10 ประเด็น 141 แผน และ พัฒนาโครงการ  18 โครงการ พบ 3-4 กองทุน ลงรายละเอียดแผนยังไม่ครบถ้วนได้แก่ แผนงานสิ่งเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ  แผนงานสุขภาพจิต แผนงานความปลอดภัยทางถนนและแผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ 3.มีพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 1 คน พี่เลี้ยงระดับจังหวัด 1 คน พี่เลี้ยงระดับ 3  คน และพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 3  คน ที่มีทักษะในการทำแผนงานและโครงการได้
4.ปัญหา/ อุปสรรคจากการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ 1. ภาระงานของเจ้าหน้าที่กองทุนมาก/ขาดแรงจูงใจ 2. โปรแกรมซ้ำซ้อน กับ สปสช.และขาดความบูรณาการ 3. ผู้บริหารฯบางพื้นที่  ไม่ให้ความสำคัญด้านสุขภาพ
4.ระเบียบ/หลักเกณฑ์การใช้งบประมาณไม่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ /คณะกรรมการฯมีความเข้าใจไม่ชัดเจน 5.การสำรวจข้อมูลยุ่งยาก และการประสานนำข้อมูลเติมสถานการณ์จากหลายแหล่งบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ

 

การถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ กองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พื้นที่เขต 2 10 ก.ค. 2566 10 ก.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เขต 2 1.2 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน แต่ละกองทุนจำนวน 6 กองทุน สรุปผล       1.4 ถอดบทเรียนการจัดทำแผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 2       1.5 ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโครงการและการบันทึกกิจกรรมโครงการของกองทุนในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 2

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 7 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  6 กองทุน ได้แก่ กองทุนอบต.มะต้อง อบต.หนองแขม อบต.หอกลอง อบต.ทับยายเชียง อบต.ท่าช้าง และ อบต.มะตูม แต่ละพื้นที่จัดทำแผนรวม  20 ประเด็น 110 แผน และ พัฒนาโครงการ  9 โครงการ มีพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 1 คน พี่เลี้ยงระดับอำเภอ 3 คน และพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 3  คน ที่มีทักษะในการทำแผนงานและโครงการได้

 

การถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชนฯกองทุนสมัครใจ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 11 ก.ค. 2566 11 ก.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้าง เสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชนนำ     1.2 เสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในพื้นที่บางใหญ่ บ้านแหลม พระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2ทบทวนการปฏิบัติการทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ปี 2566 -2567  ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน ให้ข้อเสนอแนะการจัดการรายละเอียดการจัดทำสถานการณ์ในแต่ละแผน
      1.4 แนะนำการตรวจทานและการติดตามแผน       1.5 ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโครงการและการบันทึกกิจกรรมโครงการกองทุนลงในโปรแกรม 2.อธิบายรายละเอียดแนวทางการถอดบทเรียนการจัดทำแผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนในพื้นที่เขต 4,5 และ 6 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล 3. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
3.1 แนะนำการใช้ข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
3.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุน ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
3.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 23 คน 2.จัดทำแผน 20 ประเด็น จำนวนแผน 123  แผน จำแนกเป็น
      2.1 พื้นที่เขต 4 อำเภอบางใหญ่ 4 กองทุน  จัดทำแผน 16 ประเด็น 46 แผนและ พัฒนาโครงการ 3 โครงการ มีพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 1 คน พี่เลี้ยงระดับอำเภอ1 คน และพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 2  คนที่มีทักษะในการทำแผนงานและโครงการได้
      2.2 พื้นที่เขต 5 อำเภอบ้านแหลม 10 กองทุน จัดทำแผน 14 ประเด็น 107 แผนและ พัฒนาโครงการ 13 โครงการ มีพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 3 คน พี่เลี้ยงระดับอำเภอ 2 คน และพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 2  คนที่มีทักษะในการทำแผนงานและโครงการได้
      2.3 พื้นที่เขต 6 อำเภอพระสมุทรเจดีย์ 5 กองทุน จัดทำแผน 16 ประเด็น 44 แผนและ พัฒนาโครงการ 2 โครงการ มีพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 2 คน พี่เลี้ยงระดับอำเภอ 2 คน และพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 5  คนที่มีทักษะในการทำแผนงานและโครงการได้
3.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่เขต 5 อำเภอบางใหญ่ จำนวน 4 กองทุนและพื้นที่เขต 6 อำเภอพระสมุทรเจดีย์ 5 กองทุน วันละ  1-2 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 10 แห่งๆละ 2-3  คน รวม 24  คน 4.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  9 กองทุน ในพื้นที่เขต 5 อำเภอบางใหญ่  ได้แก่ อบต.บ้านบางม่วง อบต.บางแม่นาง  อบต.บางใหญ่ เทศบาลตำบลบางใหญ่  และพื้นที่เขต 6 อำเภอพระสมุทรเจดีย์ได้แก่ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพระสมุทรเจดีย์ อบต.บ้านคลองสวน อบต.นาเกลือ อบต.ในคลองบางปลากด และเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า แต่ละพื้นที่จัดทำแผน 6-10 แผน รวม 44 แผน

 

ประชุมการถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ กองทุนนำร่องอำเภอโพทะเลและสรรคบุรี พื้นที่เขต 3 17 ก.ค. 2566 17 ก.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชนอำเภอโพทะเลและสรรคบุรี พื้นที่เขต 3       1.2 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอโพทะเลและสรรคบุรี จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน แต่ละกองทุนจำนวน 22 กองทุน สรุปผล       1.4 ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโครงการและการบันทึกกิจกรรมโครงการของกองทุนในพื้นที่อำเภอโพทะเลและสรรคบุรี พื้นที่เขต 3 2. ถอดบทเรียนการจัดทำแผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอโพทะเลและสรรคบุรี พื้นที่เขต 3

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 14 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล อำเภอสรรคบุรี 9 กองทุน รวม 22 กองทุน อำเภอสรรคบุรี จัดทำแผนรวม  10 ประเด็น 80 แผน พบ 1 กองทุน ยังไม่ได้ดำเนินการทีมพี่เลี้ยงอยู่ระหว่างประสานงานพื้นที่และการลงรายละเอียดแผนยังไม่ครบถ้วน อำเภอโพทะเล 13 กองทุนแต่ละพื้นที่จัดทำแผนรวม 20 ประเด็น 141 แผน และ พัฒนาโครงการ  8 โครงการ การลงรายละเอียดแผนยังไม่ครบถ้วนไม่ครบถ้วน 3.มีพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 1 คน พี่เลี้ยงระดับอำเภอ 8 คน และพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 3  คน ที่มีทักษะในการทำแผนงานและโครงการได้
4.ปัญหา/ อุปสรรคจากการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ  ภาระงานมาก บางพื้นที่ขาดผู้รับผิดชอบงานหลัก บางแห่งมีการโยกย้ายขาดแรงจูงใจในการทำงาน ขาดความเข้าใจในการคีย์ข้อมูลในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล

 

ประชุมการถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ กองทุนสมัครใจ จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3 17 ก.ค. 2566 17 ก.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 นำเสนอขั้นตอนของการดำเนินงาน การหนุนเสริมโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน อำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3   1.2 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่และร้องกวาง จังหวัดแพร่ พื้นที่เขต1 จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.3 ตรวจทานแผนที่บันทึกใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน แต่ละกองทุนจำนวน 6 กองทุน สรุปผล       1.4 ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโครงการและการบันทึกกิจกรรมโครงการของกองทุนอำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว  จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3   2. ถอดบทเรียนการจัดทำแผนการบริหารจัดการยกระดับกองทุนอำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว  จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 7 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล อำเภอบรรพตพิสัยและ เก้าเลี้ยว  จำนวน  10 กองทุน แต่ละพื้นที่จัดทำแผน 11 ประเด็น รวม 101 แผน พัฒนาโครงการ 22 โครงการ พบแผนที่ยังลงรายละเอียดได้ไม่สมบูรณ์คือแผนงาน ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
3.มีพี่เลี้ยงที่มีความรู้ความเข้าใจในการทำแผนงานและโครงการคือพี่เลี้ยงอำเภอ 4  คน พี่เลี้ยงพื้นที่ 3 คน  ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานคือ 1. ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินงาน เนื่องจาก ภารกิจงานของพี่เลี้ยง ของกองทุน 2. จนท.มีการเปลี่ยนแปลงโยกย้าย เปลี่ยนงาน 3. บางพื้นที่ยังไม่มีการทำแผนสุขภาพและจัดทำโครงการ

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเล พื้นที่เขต 3 1 ก.ย. 2566 1 ก.ย. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 13  พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภออำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอโพทะเล ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 13  พื้นที่       1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566
ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org  2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2566 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน    2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 25 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 13 กองทุน วันละ 4 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 13 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  34 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  13 กองทุน ได้แก่กองทุนเทศบาลตำบลโพทะเล ตำบลทุ่งน้อย ตำบลบางคลาน และตำบลท่าเสา  อบต.โพทะเล ท้ายน้ำ ทะนง ท่าบัว ท่าขมิ้น ท่าเสา วัดขวาง บ้านน้อย และท่านั่ง มีการจัดทำแผนใน 10 แผน ปี 2566 รวม 130 แผน

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอบรรพตพิสัย อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ เขต 3 1 ก.ย. 2566 1 ก.ย. 2566

 

1.ประชุมติดตามการจัดทำแผน
  1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 10 พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเก้าเลี้ยว และบรรพตพิสัย จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80 ตัวชี้วัด   1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอเก้าเลี้ยว และบรรพตพิสัย ใน 10 ประเด็น 1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ 3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5 4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 10 พื้นที่   1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80 ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org  2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2566 ใน 10 ประเด็น 1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ 3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5 4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน  2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 9 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่อำเภอเก้าเลี้ยว 5 กองทุน และบรรพตพิสัย 5 กองทุน รวม 10 กองทุน เยี่ยม 3 วันๆละ 2 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 10 แห่งๆละ 2-3 คน รวม 24 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน 10 กองทุน ได้แก่ อบต.เขาดิน อบต.หัวดง อบต.หนองเต่าอบต.มหาโพธิและเทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว และอบต.ตาขีด อบต.ตาสัง อบต.ท่างิ้ว อบต.อ่างทอง และอบต.บางตาหงาย อำเภอบรรพตพิสัย แต่ละพื้นที่จัดทำแผนพื้นที่ 10 แผน รวม 100 แผน

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอเมืองแพร่ อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต 1 4 ก.ย. 2566 4 ก.ย. 2566

 

1.ประชุมติดตามการจัดทำแผน
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 10  พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเมืองแพร่ อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอร้องกวาง จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอโพทะเล ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 10  พื้นที่       1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2566 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 18 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 3 อำเภอ  8 กองทุน อำเภอเมืองแพร่  1 กองทุน อำเภอหนองม่วงไข่ 2 กองทุน อำเภอร้องกวาง 5 กองทุน เยี่ยมวันละ  1 กองทุน  จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ มีผู้เข้าร่วม 2-3  คนต่อกองทุน รวม 22 คน
3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  8 กองทุน คือทศบาลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมืองแพร่ เทศบาลหนองม่วงไข่ และอบต.วังหลวง  อำเภอหนองม่วงไข่  เทศบาลตำบลร้องกวาง, เทศบาลตำบลบ้านเวียง ,อบต แม่ยางร้อง, อบต แม่ยางฮ่อและอบต.แม่ทราย อำเภอร้องกวาง 4. พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุน จำนวน 4  คน

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา เขต 1 7 ก.ย. 2566 7 ก.ย. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 13  พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอโพทะเล ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 14  พื้นที่       1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566 ,2567 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org  2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2566 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน  2.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566    2.4 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 31 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 14 กองทุน วันละ 4 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 14 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  40 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  14 กองทุน ได้แก่ กองทุนเทศบาลตำบลบ้านสาง อบต.แม่ใส เทศบาลตำบลท่าวังทอง เทศบาลตำบลบ้านต๊ำ เทศบาลตำบลสันป่าม่วง อบต.แม่นาเรือ อบต.จำป่าหวาย เทศบาลตำบลบ้านใหม่ เทศบาลตำบลท่าจำปี อบต.บ้านตุ่น เทศบาลตำบลแม่กา เทศบาลตำบลแม่ปืม เทศบาลตำบลบ้านต๋อม และเทศบาลเมืองพะเยา มีการจัดทำแผนใน 10 แผน ปี 2566 รวม 140 แผน

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 12 ก.ย. 2566 12 ก.ย. 2566

 

1.ประชุมติดตามการจัดทำแผน
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 10  พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก  จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอโพทะเล ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 6  พื้นที่       1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566
ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org  2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2566 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน    2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 15คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่อำเภอพรหมพิราม 6 กองทุน เยี่ยม  6 วันๆละ  1 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 6 แห่งๆละ 2-3  คน รวม 20  คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  6 กองทุน ได้แก่ อบต.มะต้อง, อบต.หนองแขมม อบต.หอกลองม อบต.ทับยายเชียง, อบต.ท่าช้าง และอบต.มะตูม  อำเภอพรหมพิราม แต่ละพื้นที่จัดทำแผนพื้นที่ 10 แผน รวม 60  แผน

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต 1 13 ก.ย. 2566 13 ก.ย. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 13  พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่  เขต 1 จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่สูงเม่น ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 14  พื้นที่       1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566 ,2567 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2566 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566
2.4 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 28 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 13 กองทุน วันละ 4 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 13 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  34 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  13 กองทุน ได้แก่ อบต.บ้านเหล่า,อบต.น้ำชำ,อบต.พระหลวง, อบต.ร่องกาศ ,อบต.ดอนมูล ,อบต.สบสาย, อบต.บ้านกาศ ,อบต. เวียงทอง, อบต.สูงเม่น, เทศบาลสูงเม่น, อบต.หัวฝาย, อบต.บ้านปง และอบต.บ้านกวาง มีการจัดทำแผนใน 10 แผน ปี 2566 รวม 130 แผน
4.พี่เลี้ยงพื้นที่ที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการและการติดตาม  5 คน

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอบางใหญ่ บ้านแหลม พระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 22 ก.ย. 2566 22 ก.ย. 2566

 

.ประชุมติดตามการจัดทำแผน ทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนพื้นที่
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 10  พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ ในอำเภอบางใหญ่ บ้านแหลม พระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4, 5 และ 6  จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอบางใหญ่ บ้านแหลม พระสมุทรเจดีย์ ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 7 พื้นที่       1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล       1.4 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะ นัดหมายการติดตามในพื้นที่เดือนตุลาคม 2566 และสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน 2.มีผู้รับผิดชอบงานเข้าร่วมการบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนปี 2566  รวม  พื้นที่คือ อำเภอบางใหญ่ 4 กองทุน  บ้านแหลม 3 กองทุน ใน 10 กองทุน และ พระสมุทรเจดีย์ มีทีมพี่เลี้ยงเข้าร่วมแต่กองทุน 5 กองทุน ติดภารกิจ รวมเข้าร่วมประชุม 7 แห่งใน 19 แห่ง วันละ  1-2 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 19 แห่งๆละ 2-3  คน รวม 60  คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  7 กองทุน ได้แก่ เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง  อบต.บางแม่นาง อบต.บางใหญ่ เทศบาลตำบลบางใหญ่ อำเภอบางใหญ่  อบต.บางตะบูน , อบต.ท่าแร้งออก และ เทศบาลบางตะบูน อำเภอบ้านแหลม  70  แผนงาน 4. อบต.ปากทะเล อบต.แหลมผักเบี้ย อบต.ท่าแร้ง อบต.บางครก อบต.บ้านแหลม อบต.บางขุนไทร อบต.บางแก้วอำเภอบ้านแหลม และ อบต.ในคลองบางปลากด อบต.คลองนาเกลือ เทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า อบต.บ้านคลองสวน เทศบาลพระสมุทรเจดีย์ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ แต่ละพื้นที่มีการทำแผนพื้นที่ 7-10 แผน โดยทีมพื้นที่จะดำเนินการติดตามเสริมพลังมในพื้นที่ของเขต 5,6

 

การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เขต 3 10 ต.ค. 2566 10 ต.ค. 2566

 

1.ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 9  พื้นที่ ปี2566 และปี2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภออำเภอสรรคบุรี  จังหวัดชัยนาท เขต 3 จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org  ทั้ง 80  ตัวชี้วัด       1.2 ปฏิบัติการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่สรรคบุรี ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 14  พื้นที่       1.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566 ,2567 ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2566 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 บันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ โครงการที่ได้รับการอนุมัติในปี 2566
2.4 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 16 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 9 กองทุน วันละ 4 กองทุน จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ 9 แห่งๆละ 2-3  คน รวม  24 คน 3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  9 กองทุน ได้แก่ เทศบาลตำบลแพรกศรีราชา เทศบาลตำบลสรรคบุรี เทศบาลตำบลดงคอน เทศบาลตำบลห้วยกรด เทศบาลตำบลบางขุด เทศบาลตำบลโพงาม เทศบาลตำบลดอนกำ
เทศบาลตำบลห้วยกรดพัฒนาและ องค์การบริหารส่วนตำบลเที่ยงแท้ มีการจัดทำแผนใน 10 แผน ปี 2566 รวม 90 แผน
4.พี่เลี้ยงพื้นที่ที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการและการติดตาม  4 คน

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยงในการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต 1 23 พ.ย. 2566 23 พ.ย. 2566

 

1.ประชุมติดตามการจัดทำแผน
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 13  พื้นที่ ปี 2566,2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอสูงเม่น จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org
      1.2 ตรวจสอบการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 10  พื้นที่       1.3 ตรวจสอบการบันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ ในปี 2567ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่
      2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
      2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2567 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
    2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 8 คน 2.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  12 กองทุน ติดภารกิจ 1 กองทุน จัดทำแผน 130 แผน แต่ละพื้นที่จัดทำแผนรวม  10 ประเด็น และมี 2 กองทุนคือกองทุนตำบลหัวฝายและดอนมูล ทำแผนเพิ่มเติมแห่งละ1-2 แผน และ พัฒนาโครงการ  2 โครงการ พบ 2-3 กองทุน ลงรายละเอียดแผนยังไม่ครบถ้วนได้แก่ แผนงานสิ่งเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ  แผนงานสุขภาพจิต แผนงานความปลอดภัยทางถนนและแผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ 3.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ อำเภอสูงเม่น  13 กองทุน เยี่ยมวันละ  3 กองทุน  จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ มีผู้เข้าร่วม 1-2  คนต่อกองทุน รวม 32 คน
4.มีพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 1 คน พี่เลี้ยงระดับอำเภอ 3 คน และพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 3  คน ที่มีทักษะในการทำแผนงานและโครงการได้
5.ปัญหา/ อุปสรรคจากการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ ภาระงานมาก บางพื้นที่ขาดผู้รับผิดชอบงานหลัก ขาดแรงจูงใจในการทำงาน ขาดความเข้าใจในการคีย์ข้อมูลในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล

 

การประชุมทีมพี่เลี้ยงติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนสมัครใจอำเภอเมืองแพร่ ร้องกวาง หนองม่วงไข่ พื้นที่เขต 1 24 พ.ย. 2566 24 พ.ย. 2566

 

1.ประชุมติดตามการจัดทำแผน
    1.1 ทบทวนข้อมูลการจัดทำแผนใน 10  พื้นที่ ปี 2567 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ เป้าหมาย ข้อมูลที่จัดเก็บได้ในอำเภอเมืองแพร่ อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอร้องกวาง จากโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org
      1.2 ตรวจสอบการบันทึกทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่อำเภอเมืองแพร่ อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน ใน 10  พื้นที่       1.3 ตรวจสอบการบันทึกเป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ ในปี 2567ตรวจทานแผนที่บันทึกในแต่ละกองทุน สรุปผล 2. พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 2.1 แนะนำการบันทึกข้อมูลสถานการณ์และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม ทั้ง 80  ตัวชี้วัดของกองทุน ในโปรแกรมhttps://localfund.happynetwork.org
2.2 ตรวจสอบ ปรับแก้ไขข้อมูลที่บันทึกคลาดเคลื่อน การทำแผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ของกองทุนปี 2567 ใน 10 ประเด็น  1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน
2.3 แลกเปลี่ยน ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 9 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่ 3 อำเภอ  8 กองทุน อำเภอเมืองแพร่  1 กองทุน อำเภอหนองม่วงไข่ 2 กองทุน อำเภอร้องกวาง 5 กองทุน เยี่ยมวันละ  1 กองทุน  จำนวนผู้เข้าร่วมการติดตามในพื้นที่ มีผู้เข้าร่วม 1-2  คนต่อกองทุน รวม 22 คน
3.มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนกองทุนตำบล จำนวน  8 กองทุน คือเทศบาลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมืองแพร่ เทศบาลหนองม่วงไข่ และอบต.วังหลวง  อำเภอหนองม่วงไข่  เทศบาลตำบลร้องกวาง, เทศบาลตำบลบ้านเวียง ,อบต แม่ยางร้อง, อบต แม่ยางฮ่อและอบต.แม่ทราย อำเภอร้องกวาง 4. พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ จำนวน 4  คน

 

การประชุมทีมพี่เลี้ยงในการติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องเขต1และ3 27 พ.ย. 2566 27 พ.ย. 2566

 

• ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประชุม
• แนะนำคณะทำงาน/ พี่เลี้ยง • รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ที่ผ่านมา โดย พี่เลี้ยงเขต 1-6 • แลกเปลี่ยนกระบวนการทำงานของกองทุน เขตสุขภาพที่ 1-6 (2 กองทุน) 1) การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น คุณค่าจากผลการดำเนินงาน
2) ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จและที่เป็นอุปสรรค
3) แนวทางการแก้ไขและการพัฒนา โดย พี่เลี้ยงและกองทุน
• อภิปราย แลกเปลี่ยน และร่วมกันวางแผนการดำเนินงานในระยะต่อไป
• สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม  38 คน ร่วมประชุม online 11 คน 2. ในการแลกเปลี่ยนพบว่า • แบบฟอร์มที่ดีต้องใช้ความอดทน ใช้เวลา • กลไกพี่เลี้ยงช่วยสนับสนุนกลไกพี่เลี้ยงมีความจำเป็นโดยเฉพาะจากภายนอก • การพัฒนาศักยภาพคน กลไกวิชาการมีความจำเป็น  นายกฯเข้าใจผู้ช่วยเลขากองทุนมีกรรมการกองทุนเข้าร่วม workshop ทำแผนและเขียนโครงการ    อนุกรรมการช่วยในการติดตามประเมินผล และต้องการความรู้และทักษะด้านการติดตามประเมินผลอย่างมากตำบลบ้านเหล่า สูงเม่นและตำบลแม่ใส มีนโยบายของผู้บริหารสนับสนุนภารกิจเช่นการเอาข้อมูลผู้สูงอายุไปใช้ในการวางแผนร่วมกันนำไปสู่การทำธรรมนูญสังคมสูงวัย ศักยภาพของคนดีขึ้นมาก คณะกรรมการเดิมเช่นผู้บริหารกองทุนปัจจุบันท้องถิ่นเป็นผู้บริหารกองทุนเจ้าหน้าที่อบตต้องมีความเข้าใจการทำแผนและวิธีเขียนโครงการและการเชื่อมกลไกต่างๆ ข้อจำกัด ของท้องถิ่นคือโครงสร้างแตกต่างกัน คณะกรรมการกองทุนมีการนำเสนอให้กรรมการรับทราบ คนเขียนโครงการยังไม่ค่อยเปลี่ยนมีข้อจำกัดของการเขียนโครงการ  การเขียนโครงการใช้งบประมาณของส่วนใหญ่ในการให้ความรู้ การเชื่อมกลไกต่างๆระหว่างท้องถิ่นกับหน่วยงานเช่นรพสต
ชุดความรู้ยังไม่ค่อยเกิดขึ้น ข้อเสนอ  พี่เลี้ยงจะช่วยประสานเพิ่มการรับรู้การมีส่วนร่วมของกรรมการผู้รับผิดชอบควรใช้เว็บเพื่อการเรียนรู้การทำงานระหว่างพชอ /อบจ
• การใช้เครื่องมืออื่นๆเข้ามาประกอบการทำงานและควรพัฒนาต่อ

 

การประชุมทีมพี่เลี้ยงในการติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปเขต1-6 27 พ.ย. 2566 27 พ.ย. 2566

 

• ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประชุม
• แนะนำคณะทำงาน/ พี่เลี้ยง • รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ที่ผ่านมา โดย พี่เลี้ยงเขต 1-6 • แลกเปลี่ยนกระบวนการทำงานของกองทุนขยายผล เขตสุขภาพที่ 1-6 (2 กองทุน) 1) การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น คุณค่าจากผลการดำเนินงาน
2) ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จและที่เป็นอุปสรรค
3) แนวทางการแก้ไขและการพัฒนา โดย พี่เลี้ยงและกองทุน
• อภิปราย แลกเปลี่ยน และร่วมกันวางแผนการดำเนินงานในระยะต่อไป
• สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม  13 คน 2. ในการแลกเปลี่ยนพบว่า • แบบฟอร์มที่ดีต้องใช้ความอดทน ใช้เวลา • กลไกพี่เลี้ยงช่วยสนับสนุนกลไกพี่เลี้ยงมีความจำเป็นโดยเฉพาะจากภายนอก • การพัฒนาศักยภาพคน กลไกวิชาการมีความจำเป็น  นายกฯเข้าใจผู้ช่วยเลขากองทุนมีกรรมการกองทุนเข้าร่วม workshop ทำแผนและเขียนโครงการ    อนุกรรมการช่วยในการติดตามประเมินผล และต้องการความรู้และทักษะด้านการติดตามประเมินผลอย่างมากตำบลบ้านเหล่า สูงเม่นและตำบลแม่ใส มีนโยบายของผู้บริหารสนับสนุนภารกิจเช่นการเอาข้อมูลผู้สูงอายุไปใช้ในการวางแผนร่วมกันนำไปสู่การทำธรรมนูญสังคมสูงวัย ศักยภาพของคนดีขึ้นมาก คณะกรรมการเดิมเช่นผู้บริหารกองทุนปัจจุบันท้องถิ่นเป็นผู้บริหารกองทุนเจ้าหน้าที่อบตต้องมีความเข้าใจการทำแผนและวิธีเขียนโครงการและการเชื่อมกลไกต่างๆ ข้อจำกัด ของท้องถิ่นคือโครงสร้างแตกต่างกัน คณะกรรมการกองทุนมีการนำเสนอให้กรรมการรับทราบ คนเขียนโครงการยังไม่ค่อยเปลี่ยนมีข้อจำกัดของการเขียนโครงการ  การเขียนโครงการใช้งบประมาณของส่วนใหญ่ในการให้ความรู้ การเชื่อมกลไกต่างๆระหว่างท้องถิ่นกับหน่วยงานเช่น รพสตใ
ชุดความรู้ยังไม่ค่อยเกิดขึ้น ข้อเสนอ  พี่เลี้ยงจะช่วยประสานเพิ่มการรับรู้การมีส่วนร่วมของกรรมการผู้รับผิดชอบควรใช้เว็บเพื่อการเรียนรู้การทำงานระหว่างพชอ /อบจ
• การใช้เครื่องมืออื่นๆเข้ามาประกอบการทำงานและควรพัฒนาต่อ

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567 ในกองทุนศูนย์เรียนรู้อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร และ อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เขต 3 24 ม.ค. 2567 24 ม.ค. 2567

 

1.ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567     1.1 ชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทาง การจัดสรรงบประมาณ และขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล     1.2 ทบทวนแผนการหนุนเสริมและสนับสนุนบริหารจัดการกองทุนสมัครใจในพื้นที่
    1.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้รายละเอียดอภิปราย รายละเอียดประเด็นในการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน ใน 10 ประเด็น 1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.4 ฝึกปฏิบัติการการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน       1.5 แนะนำการเพิ่มสมาชิกและการตั้ง USER และ PASSWORD สำหรับผู้จัดเก็บข้อมูล       1.6 สรุปผลตรวจทานการบันทึกข้อมูลในแต่ละกองทุน สรุปผล 2.พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่นำโครงการที่ดำเนินการบันทึกในโปรแกรม 3.พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่ทำแผนเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่

 

1.มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม  42 คน
2.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำอำเภอโพทะเล บันทึกแผนปี 2567 จำนวน 167  แผน  โครงการจำนวน 52 โครงการ ติดตามโครงการ  10 โครงการ และอำเภอสรรคบุรีบันทึกแผนปี 2567 จำนวน 92  แผนงาน ยังไม่มีการบันทึกโครงการและ ติดตามโครงการ 3.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่อำเภอโพทะเล 13 กองทุน ได้แก่ กองทุนเทศบาลตำบลโพทะเล ตำบลทุ่งน้อย ตำบลบางคลาน และตำบลท่าเสา  อบต.โพทะเล ท้ายน้ำ ทะนง ท่าบัว ท่าขมิ้น ท่าเสา วัดขวาง บ้านน้อย และท่านั่งและ อำเภอ สรรคบุรี จำนวน 8 พื้นที่

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567 ในกองทุนสมัครใจ บรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3 24 ม.ค. 2567 24 ม.ค. 2567

 

1.ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและจัดเก็บข้อมูลปี 2567     1.1 ชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทาง การจัดสรรงบประมาณ และขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล     1.2 ทบทวนแผนการหนุนเสริมและสนับสนุนบริหารจัดการกองทุนสมัครใจในพื้นที่
    1.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้รายละเอียดอภิปราย รายละเอียดประเด็นในการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน ใน 10 ประเด็น 1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.4 ฝึกปฏิบัติการการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน       1.5 แนะนำการเพิ่มสมาชิกและการตั้ง USER และ PASSWORD สำหรับผู้จัดเก็บข้อมูล       1.6 สรุปผลตรวจทานการบันทึกข้อมูลในแต่ละกองทุน สรุปผล 2.พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่นำโครงการที่ดำเนินการบันทึกในโปรแกรม 3.พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่ทำแผนเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่

 

1.มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม อำเภอบรรพตพิสัย 13 คนและอำเภอเก้าเลี้ยว 10 คน รวม 23 คน มีแกนนำที่มีทักษะในการจัดทำแผนงานและโครงการได้เพิ่มขึ้น จำนวน 2 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำอำเภอ บรรพตพิสัยบันทึกแผน ปี2567  จำนวน 18 แผน  6 โครงการและติดตาม 5 โครงการ และ เก้าเลี้ยวบันทึกแผน ปี2567  จำนวน 25 แผน 35 โครงการ ติดตาม 0โครงการ
3.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่กองทุนตำบลในอำเภอบรรพตพิสัย และอำเภอเก้าเลี้ยว จำนวน อำเภอละ 5 กองทุน รวม 10  กองทุน

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567 ในกองทุนสมัครใจ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พื้นที่เขต 2 25 ม.ค. 2567 25 ม.ค. 2567

 

1.ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567
    1.1ชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทาง การจัดสรรงบประมาณ และขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล     1.2 ทบทวนแผนการหนุนเสริมและสนับสนุนบริหารจัดการกองทุนสมัครใจในพื้นที่
    1.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้รายละเอียดอภิปราย รายละเอียดประเด็นในการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน ใน 10 ประเด็น 1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนน       1.4 ฝึกปฏิบัติการการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน       1.5 แนะนำการเพิ่มสมาชิกและการตั้ง USER และ PASSWORD สำหรับผู้จัดเก็บข้อมูล       1.6 สรุปผลตรวจทานการบันทึกข้อมูลในแต่ละกองทุน สรุปผล 2.พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่นำโครงการที่ดำเนินการบันทึกในโปรแกรม 3.พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่ทำแผนเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่

 

1.มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก บันทึกแผนปี2567 จำนวน 54 แผน โครงการ 8  โครงการ และตดตาม5 โครงการ 3.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่กองทุนตำบล ในอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก  จำนวน 6  กองทุน

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกแผน โครงการและการเตรียมจัดเก็บข้อมูลกองทุนฯสมัครใจ เขต 4 ,5 และ 6 29 ก.พ. 2567 29 ก.พ. 2567

 

1.ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามแผนงาน โครงการและการเตรียมจัดเก็บข้อมูลปี 2567     1.1 ชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทาง การจัดสรรงบประมาณ และขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล     1.2 ทบทวนแผนการหนุนเสริมและสนับสนุนบริหารจัดการกองทุนสมัครใจในพื้นที่
    1.3 ตรวจทานการทำแผนใน 10 ประเด็น 1. ประเด็นกิจกรรมทางกาย 2. ประเด็นขยะ  3. ประเด็นมลพิษทางอากาศ PM2.5  4. ประเด็นยาสูบ 5. ประเด็นสุรา 6.ประเด็นสารเสพติด 7. ประเด็นอาหาร 8. ประเด็นสุขภาพจิต 9. ประเด็นโรคอุบัติใหม่และ 10. ประเด็นความปลอดภัยทางถนนของกองทุนฯสมัครใจ เขต 4 ,5 และ 6 ทบทวนการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการ       1.4 พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่นำโครงการที่ดำเนินการบันทึกในโปรแกรม       1.5 สรุปผลตรวจทานการบันทึกข้อมูลในแต่ละกองทุน สรุปผล       1.6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้รายละเอียดอภิปราย รายละเอียดประเด็นในการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน ใน 10 ประเด็น
      1.7 ฝึกปฏิบัติการการจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บรายบุคคล รายครอบครัว และชุมชน แนะนำการเพิ่มสมาชิกและการตั้ง USER และ PASSWORD สำหรับผู้จัดเก็บข้อมูล       1.8 พี่เลี้ยงและแกนนำพื้นที่จัดทำแผนเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่ สรุปผล

 

1.มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม อำเภอบางใหญ่ 7 คน อำเภอบ้านแหลม 3 คนและอำเภอพระสมุทรเจดีย์ 11 คนและทีมพี่เลี้ยงเขต 4  คน รวม 25 คน ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำที่มีทักษะในการจัดทำแผนงานและโครงการได้เพิ่มขึ้น จำนวน 6 คน 2.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำอำเภอบางใหญ่ บันทึกแผน ปี 2567  จำนวน 40 แผน  14 โครงการและติดตาม 1 โครงการ  อำเภอบ้านแหลม  และพระสมุทรเจดีย์ บันทึกแผน ปี2567  จำนวน 101 แผน 9โครงการ ติดตาม 3โครงการ บันทึกแผน ปี2567  จำนวน 50 แผน10 โครงการ ติดตาม 4 โครงการ 3.ทีมพี่เลี้ยงและแกนนำเตรียมการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่กองทุนตำบลในอำเภอบางใหญ่ จำนวน 4 กองทุน อำเภอบ้านแหลม  และพระสมุทรเจดีย์ อำเภอละ 5 กองทุน รวม 14 กองทุน