สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 1-6

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (2) เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผล โครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กองทุนศูนย์เรียนรู้ (2) กองทุนสมัครใจเข้าร่วม (3) ประชุมผู้ประสานงานเขต พี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่ในเขต 1 - 6 (4) ประชุมความร่วมมือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ สูงเม่น จังหวัดแพร่  เขต1 (5) ประชุมความร่วมมือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขต1 (6) การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมพี่เลี้ยง จังหวัดและพื้นที่จังหวัดแพร่ (7) ประชุมประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และทีมพี่เลี้ยงในเขต 2 และ3 (8) การพัฒนาศักยภาพกองทุนสมัครใจ วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลกองทุน จังหวัดแพร่ เขต 1 (9) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจจังหวัดแพร่ เขต1 (10) การพัฒนาศักยภาพการพัฒนาศักยภาพ วิเคราะห์ จัดเก็บข้อมูลกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต 1 (11) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนนำร่อง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เขต1 (12) การพัฒนาศักยภาพกองทุนสมัครใจ วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลกองทุน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 (13) การพัฒนาศักยภาพการพัฒนาศักยภาพ การจัดเก็บข้อมูลกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขต 1 (14) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 (15) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลในกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขต1 (16) การพัฒนาศักยภาพกองทุนสมัครใจ วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลกองทุน จังหวัดนครสวรรค์  เขต 3 (17) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเลและอำเภอสรรคบุรี เขต 3 (18) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจบรรพตพิสัย  เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ เขต 3 (19) การพัฒนาศักยภาพการพัฒนาศักยภาพ วิเคราะห์ จัดเก็บข้อมูลกองทุนสมัครใจอำเภอบ้านแหลม อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอบางใหญ่ เขต 4,5,6 (20) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ในกองทุนสมัครใจ จัดเก็บข้อมูลกองทุนสมัครใจอำเภอบางใหญ่ และอำเภอบ้านแหลม อำเภอพระสมุทรเจดีย์เขต 4,5,6 (21) ประชุมประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เขต 1 บันทึกข้อตกลงอำเภอสูงเม่น (22) ประชุมประสานความร่วมมือกับพชอ. เขต 1 บันทึกข้อตกลงเมืองพะเยา (23) การประชุมประสานความร่วมมือพชอ.โพทะเล จังหวัดพิจิตร เขต 3 (บันทึกข้อตกลงฯ) (24) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจอำเภอเมืองแพร่ หนองม่วงไข่ และร้องกวาง จังหวัดแพร่ พื้นที่เขต 1 (25) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะยา จังหวัดพะเยา  เขต 1 (26) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต2 (27) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 (28) ประสานความร่วมมือกับพชอ. และทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เขต 3 (29) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  เขต 3 (30) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจ บรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3 (31) ประชุมพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่  เขต 1 (32) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่  เขต 1 (33) พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนและการติดตามกองทุนสมัครใจอำเภอเมือง หนองม่วงไข่และร้องกวาง จังหวัดแพร่ พื้นที่เขต 1 (34) พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงการจัดทำแผนและการติดตาม กองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 (35) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา  เขต 1 (36) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร  เขต 3 (37) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนทีมพี่เลี้ยงและการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท  เขต 3 (38) พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงการจัดทำแผนและติดตามกองทุนสมัครใจอำเภอบรรพตพิสัยและเก้าเลี้ยว นครสวรรค์ เขต 3 (39) พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงการจัดทำแผนและการติดตามกองทุนสมัครใจ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เขต 5 (40) พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนกองทุนสมัครใจ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เขต 4 (41) ประชุมการถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ  กองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา พื้นที่เขต 1 (42) การถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ  กองทุนสมัครใจอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พื้นที่เขต 2 (43) การถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชนฯกองทุนสมัครใจ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 (44) ประชุมการถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ  กองทุนนำร่องอำเภอโพทะเลและสรรคบุรี พื้นที่เขต 3 (45) ประชุมการถอดบทเรียนการทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯ  กองทุนสมัครใจ จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3 (46) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลฯกองทุนนำร่องอำเภอโพทะเล พื้นที่เขต 3 (47) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอบรรพตพิสัย อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์  เขต 3 (48) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอเมืองแพร่ อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต 1 (49) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องอำเภอเมืองพะเยา  เขต 1 (50) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก  เขต 2 (51) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่  เขต 1 (52) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปอำเภอบางใหญ่ บ้านแหลม พระสมุทรเจดีย์ พื้นที่เขต 4,5 และ 6 (53) การประชุมติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องอำเภอสรรคบุรี  จังหวัดชัยนาท เขต 3 (54) ประชุมทีมพี่เลี้ยงในการติดตามกองทุนนำร่องอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่  เขต 1 (55) การประชุมทีมพี่เลี้ยงติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนสมัครใจอำเภอเมืองแพร่ ร้องกวาง หนองม่วงไข่  พื้นที่เขต 1 (56) การประชุมทีมพี่เลี้ยงในการติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องเขต1และ3 (57) การประชุมทีมพี่เลี้ยงในการติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนทั่วไปเขต1-6 (58) ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567 ในกองทุนศูนย์เรียนรู้อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร และ อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท  เขต 3 (59) ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567 ในกองทุนสมัครใจ บรรพตพิสัย เก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่เขต 3 (60) ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลปี 2567 ในกองทุนสมัครใจ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พื้นที่เขต 2 (61) ประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกแผน โครงการและการเตรียมจัดเก็บข้อมูลกองทุนฯสมัครใจ เขต 4 ,5 และ 6

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ