สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

นโยบายสวนยางยั่งยืน

เวทีประชุมจัดทำแผนความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน (5 รูปแบบ) สวนยางยั่งยืน8 กันยายน 2565
8
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Kero
  • กลไก-เครื่องมือ-ขับเคลื่อนเกษตรยั่งยืน-ภา.docx
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการจัดทำสวนยางยั่งยืน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมปรึกษาหารือจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืน  ( 5  รูปแบบ) : สวนยางยั่งยืน  กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด หรือกลุ่มจังหวัด เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมมีแผนความร่วมมือขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด ผลลัพธ์ : แผนความร่วมมือเกษตรยั่งยืนระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทวีวัตร  เครือสาย      สืบเนื่องจากปีที่แล้วมีการขับเคลื่อนการทำต้นแบบแปลงสวนยางยั่งยืนใน 3 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ได้แก่ ระนอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี โดยกำหนดต้นแบบจำนวน 10 แปลง/จังหวัด  ซึ่ง สมาคมประชาสังคมชุมพร ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เครือข่ายสวนยาง ขับเคลื่อนสวนยางยั่งยืน    ในสภาวการณ์ที่ผลผลิตยางพารา ปาล์มน้ำมันราคาตกต่ำ  เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย ลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทำอย่างไรถึงจะขยับขยายเพิ่มขึ้น  เป็นทางรอดของเกษตรกรรายย่อย  เกิดรายได้เพื่อสร้างแรงจูงใจ แนวทางการขับเคลื่อนสวนยางยั่งยืน(เกษตรกรรมยั่งยืน) ของในอนาคต  ต้องวางแนวทาง และ วางแผน  โดยต้องมี
1.โครงสร้างกลไกที่ขยับได้ดี  ต้องเข้าใจในเรื่องดังกล่าว ใช้สถาบันเกษตรกร ที่ขึ้นทะเบียนกับ กยท. และไม่ขึ้นทะเบียนกับ กยท.  เป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนที่นำไปสู่ความสำเร็จ 2. ศูนย์เรียนรู้ / แปลงต้นแบบ  เป็นคีย์สำคัญในการขับเคลื่อนเรื่องนี้ การขยายการเรียนรู้ ตัวอย่าง 3. คนรุ่นใหม่  ต้องผ่านตัวคนรุ่นใหม่ จะช่วยแก้ปัญหาในแรงงานภาคเกษตรได้ เป็นแนวทางในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชน(ตลอดห่วงโซ่อาหาร) เป็น 3 เงื่อนไขสำคัญที่จะช่วยให้เกษตรกรรมยั่งยืน 5 รูปแบบ  ขับเคลื่อนไปได้ สมัชชาสวนยางยั่งยืนภาคใต้ร่วมร่างยุทธศาสตร์ WWF    ในอนาคตการส่งออก  จะต้องมีมาตรฐานการจัดการสวนยางยั่งยืน FFC  ที่ทำแล้วในภาคใต้มี จังหวัดสงขลา พัทลุง  สุราษฎร์ธานี  และการจัดทำคู่มือสวนยางยั่งยืน โดย ม.แม่โจ้ ชุมพร แนวทางการขยายผลเกษตรกรรมยั่งยืน โดยการทำแผนที่  ประกอบไปด้วย พื้นที่แปลงต้นแบบ / ศูนย์เรียนรู้  สถาบันเกษตรกร และคนรุ่นใหม่   ซึ่งจากการพูกคุยทำให้เกิดโครงสร้างการขับเคลื่อนงานสวนยางยั่งยืนในระดับพื้นที่ที่ชัดเจนและครอบคลุมในทุกรูปแบบ(ดูจากไฟล์)

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 17 คน จากที่ตั้งไว้ 17 คน
ประกอบด้วย

กยท.คณะทำงานจังหวัดและภาคีที่เกี่ยวข้อง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่