สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 4

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) พื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. การประชุมทีมพี่เลี้ยงขับเคลื่อนโครงการยกระดับการขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ จังหวัดนนทบุรีครั้งที่1 (2) 2. ประชุมพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อร่วมขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ครั้งที่1 (3) การประชุมทีมพี่เลี้ยงขับเคลื่อนโครงการยกระดับารขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ครั้งที่2 (4) ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับกองทุนโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ 3 ครั้ง(กองทุน อบต.บางใหญ่) (5) ประชุมพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่่อร่วมขับเคลื่อนการยกระดับคุรภาพโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ครั้งที่2 (6) ประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อพัฒนาแผนงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ 3 ครั้ง (กองทุน อบต.บางใหญ) (7) ประชุมดำเนินการติดตาม/การจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงการฯดำเนินงานตามโครงการฯและการประเมินผผล 3 ครั้ง (กองทุน อบต.บางใหญ่) (8) ประชุมคณะทำงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ครั้งที่ 3 (9) ประชุมคณะทำงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ จังหวัดนนทบุรี  ครั้งที่ 4 วันที่  11 พฤษภาคม 2565  เวลา 13.30-16.30 น. ผ่านระบบ Zoom (10) การประชุมติดตามประเมินผลการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (กิจกรรมโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ จังหวัดนนทบุรี) วันที่  17 พฤษภาคม 2565  เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางแม (11) 5. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ และหาแนวทางการผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้เป็นนโยบายสาธารณะในระดับอำเภอ (12) ประชุมคณะทำงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที ครั้งที่5 วันที่31 พ.ค.65

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ