สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 มกราคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 มกราคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 800,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ จำนวน 1 ครั้ง
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานโครงการ- จัดทำข้อมูลและฐานข้อมูลชุมชน (ทำงานร่วมกับโครงการพัฒนาตำบลแบบบูรณาการ ของกรมการปกครอง) และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อนำข้อมูลใช้วางแผนและตัดสินใจจัดทำแผน แนวทาง และงบประมาณสนับสนุน
  3. 2.1 การประชุมเกษตรกร ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ร้านค้า กลุ่มอาชีพในตำบล จำนวน 1 ครั้ง
  4. 2.2 ปฏิบัติการยกระดับการผลิต การแปรรูปผลผลิตการเกษตรในชุมชน
  5. 2.3 การติดตามประเมินสภาพแวดล้อม แหล่งผลิตอาหารของชุมชน การผลิตสินค้า OTOP
  6. 2.4 พัฒนาการตลาด การสร้างกลไก Matching Model
  7. ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ
  8. ประชุมพัมนาการตลาดกาแฟชุมชน
  9. โครงการพืชแซมยาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ

วันที่ 9 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ ได้แก่ 1. พืชร่วมยาง ปลูกกาแฟ พืชสมุนไพรฟ้าทะลายโจร กระขายขาว
2. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มรับจ้างทั่วไป กลุ่มเปราะบาง โดยการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือน / พืชปันสุข
3. พัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน เรื่องการบริหารจัดการ การตลาดดิจิทัลกาแฟ

  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

2. ประชุมพัมนาการตลาดกาแฟชุมชน

วันที่ 29 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุุมพัฒนาการตลาดกาแฟชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • การทำช่องทางในการจำหน่าย ขายของที่เค้ามีอยู่
  • ชื่อเเบรนด์ที่ชัดเจน
  • การทำตลาดออนไลน์ กระบวนการขาย
  • หากลุ่มลูกค้าหลัก
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

3. ปฏิบัติการยกระดับการผลิต การแปรรูปผลผลิต การเกษตรในชุมชน

วันที่ 8 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.พืชแซมยาง 2.พืชปันสุข 3.ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน 1.พืชแซมยาง วันที่จัดโครงการ 08-09/09/2021 กรกฎาคม : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง สิงหาคม : พัฒนาศักยภาพเกษตรกรชาวสวนยาง 10 คน - อบรมให้ความรู้การปลูกพืชร่วมยางระยะสั้น - อบรมการทำบัญชีครัวเรือน - อบรมปุ๋ยอินทรีย์ชุมชน สิงหาคม -กันยายน :
- การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพเกษตรกรเพื่อสร้างแปลงต้นแบบ - การทำแปลงพืชร่วมยางเพื่อเพิ่มรายได้ให้ประชาชน กันยายน - ตุลาคม : - เก็บเกี่ยวผลผลิต - นำจำหน่ายสู่ตลาดเพื่อเพิ่มรายได้ ตุลาคม : บันทึกผลผลิต,ระยะเวลาเก็บเกี่ยว,บันทึกรายรับครัวเรือน/รายจ่ายครัวเรือน พฤศจิกายน – ธันวาคม :
- ติดตามและประเมินผล 1 ครั้ง/เดือน - สรุปผลการติดตาม - แก้ไขและพัฒนาต่อไป 2.พืชปันสุข วันที่จัดโครงการ 21-22/09/2021 กรกฎาคม : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง สิงหาคม : พัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย 40 คน - อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกพืชสวนครัว
- อบรมการทำบัญชีครัวเรือน สิงหาคม -กันยายน
- วางแผนการเพาะปลูกและคำนวณระยะเวลาการให้ผลผลิต - ออกแบบเมนูปฏิทินกินผักของชุมชน
- ดำเนินการเพาะปลูกพืชแต่ละครัวเรือนโดยปฏิบัติการสาธิตทดลอง แปลงต้นแบบ 1) ปรับหน้าดิน/ทำแปลงปลูก 2) เพาะเมล็ด/ต้นกล้า
กันยายน - ตุลาคม
- เก็บเกี่ยวผลผลิต - นำจำหน่ายสู่ตลาดเพื่อเพิ่มรายได้ - แบ่งปันผักสวนครัวกับเพื่อนบ้าน/กลุ่มเปราะบาง ตุลาคม : บันทึกผลผลิต/ระยะเวลาเก็บเกี่ยว/บันทึกรายจ่ายครัวเรือน/รายจ่ายด้านอาหารต่อครัวเรือน/คำนวณการลดค่าใช้จ่ายด้านอาหาร พฤศจิกายน – ธันวาคม
- ติดตามและประเมินผล 1 ครั้ง/เดือน - สรุปผลการติดตาม - แก้ไขและพัฒนาต่อไป 3.ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน วันที่จัดโครงการ 12,17/11/2021 กรกฎาคม : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง สิงหาคม : อบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์ชุมชน สิงหาคม -กันยายน : สร้างจุดเก็บเศษอาหารจากครัวเรือน - ผลิตปุ๋ยเศษอาหารจากครัวเรือนของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม กันยายน – ตุลาคม : แต่ละครัวเรือนเพาะปลูกพืชสวนครัว/และรับปุ๋ยอินทรีย์ไปปลูก/ในรอบต่อไปเอาผักมาแลกปุ๋ย/ผักปันสุขแจกจ่ายให้ชุมชน ตุลาคม : บันทึกผลผลิต/ระยะเวลาเก็บเกี่ยว/บันทึกรายจ่ายครัวเรือน/รายจ่ายด้านอาหารต่อครัวเรือน/คำนวณการลดค่าใช้จ่ายด้านอาหาร พฤศจิกายน – ธันวาคม
- ติดตามและประเมินผล 1 ครั้ง/เดือน - สรุปผลการติดตาม - แก้ไขและพัฒนาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.พืชแซมยาง
พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 10 คน ค่าเฉลี่ยเก็บเกี่ยวผลผลิต มะพร้าว ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 9.5 กก. กล้วยไข่ ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 1.5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 8.5 กก. ขมิ้นชัน ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.9 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ขิงใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.6 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ข่า ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.6 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ฟ้าทะลายโจร ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ผักเหลียง ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. กระชาย ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.15 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0.95  กก. ไม้พยุง ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 219,500 กก. ไม้ยางแดง ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 20,600 กก. ไม้สัก ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 1,540 กก. กาแฟใช้ประโยชน์ด้านการขาย 1,540กก. และ สับปะรด ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 10 กก. 2.พืชปันสุข ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คนมีค่าเฉลี่ยการลดค่าใช้จ่ายอาหารของผู้ตอบแบบสอบถาม 40 คน อยู่ที่ 610 บาทต่อเดือน และค่าเฉลี่ยด้านรายได้จากการจำหน่ายอยู่ที่ 1,018 บาทต่อเดือน 3.ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 21 คน ได้นำปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตมาใส่ในแปลงผักหรือสวน คิดเป็นร้อยละ 100 และลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย 300 - 500 บาท จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 52.5 รองลงมา 1,000 – 3,000 บาท จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 14.4 รองลงมา น้อยกว่า ๑00 บาท จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5 รองลงมา  100 – 300 บาท จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5 รองลงมา 500 – 700 บาท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7 รองลงมา 700 – 1,000 บาท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7 และ มากกว่า 3,000 บาท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7

  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo พืชปันสุขพืชปันสุข
  • photo แจกโรงเรือน พืชปันสุขแจกโรงเรือน พืชปันสุข
  • photo แจกโรงเรือน พืชปันสุขแจกโรงเรือน พืชปันสุข
  • photo แจกโรงเรือน พืชปันสุขแจกโรงเรือน พืชปันสุข
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง
  • photo พืชแซมยางพืชแซมยาง

 

0 0

4. 2.4 พัฒนาการตลาด การสร้างกลไก Matching Model

วันที่ 8 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน พฤศจิกายน : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง ธันวาคม : - อบรมการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนที่ดี - อบรมกระบวนการผลิต/ราคาและปริมาณ - อบรมรูปแบบ packaging - อบรมช่องทางการจัดจำหน่าย/กลุ่มลูกค้า เป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบว่าผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 20 มีความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก และความพึงพอใจด้านวิทยากรในการจัดอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

  • photo อบรม digital marketingอบรม digital marketing
  • photo อบรม digital marketingอบรม digital marketing
  • photo โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนโครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน
  • photo ออกบูธ ณ เซนทรัลหาดใหญ่ออกบูธ ณ เซนทรัลหาดใหญ่
  • photo อบรม digital marketingอบรม digital marketing
  • photo โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนโครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน
  • photo โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนโครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน
  • photo โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนโครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน
  • photo โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนโครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน
  • photo โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนโครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน
  • photo โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนโครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน
  • photo ออกบูธ ณ เซนทรัลหาดใหญ่ออกบูธ ณ เซนทรัลหาดใหญ่
  • photo ออกบูธ ณ เซนทรัลหาดใหญ่ออกบูธ ณ เซนทรัลหาดใหญ่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ จำนวน 1 ครั้ง (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานโครงการ- จัดทำข้อมูลและฐานข้อมูลชุมชน (ทำงานร่วมกับโครงการพัฒนาตำบลแบบบูรณาการ ของกรมการปกครอง) และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อนำข้อมูลใช้วางแผนและตัดสินใจจัดทำแผน แนวทาง และงบประมาณสนับสนุน (3) 2.1 การประชุมเกษตรกร ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ร้านค้า กลุ่มอาชีพในตำบล จำนวน 1 ครั้ง (4) 2.2 ปฏิบัติการยกระดับการผลิต การแปรรูปผลผลิตการเกษตรในชุมชน (5) 2.3 การติดตามประเมินสภาพแวดล้อม แหล่งผลิตอาหารของชุมชน การผลิตสินค้า OTOP (6) 2.4 พัฒนาการตลาด การสร้างกลไก Matching Model (7) ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ (8) ประชุมพัมนาการตลาดกาแฟชุมชน (9) โครงการพืชแซมยาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด