สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโดยทีมวิชาการเชื่อมโยงเครือข่าย กับเกษตรต้นแบบ และหรือ สถาบันเกษตรที่สังกัด 12 ต.ค. 2563

 

 

 

 

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพเกษตรกรเพื่อสร้างแปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสาน วนเกษตร พืชร่วมยาง เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช 16 ก.พ. 2564 16 ก.พ. 2564

 

  1. ชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงาน “การเข้าร่วมของเกษตรกรในการสร้างแปลงต้นแบบการ ทำเกษตรผสมผสาน วนเกษตร พืชร่วมยาง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช”
  2. บรรยายให้ความรู้เรื่องการทำวนเกษตรยางพารา การส่งเสริมการสร้างแปลงต้นแบบพืชร่วมยางในจังหวัดสงขลา และแลกเปลี่ยนการทำวนเกษตรร่วมกัน
  3. ลงพื้นที่ร่วมเรียนรู้แปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา และวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

 

  1. เจ้าหน้าที่ กยท.นาบอน ร่อนพิบูลย์ และฉวาง ร่วมคัดเลือกพื้นที่/กลุ่มเป้าหมายในการทำพืชร่วมยาง (แบบ 2, 3) ได้เกษตรเป้าหมาย 10 ราย/ 10 แปลง แบบ 3 ได้แก่   1.1) นายปรีชา คงสง (ต.แก้วแสน อ.นาบอน)
      1.2) นายสุมิตร ศรีวิสุทธิ์ (ต.คลองเส อ.ถ้ำพรรณรา)   1.3) นายลิขิต บุตรมิตร (ต.กุแหระ อ.ทุ่งใหญ่)   1.4) นายยงยุทธ์ สุขสวัสดิ์ (ต.ครึง อ.ชะอวด)   1.5) นายอมรศักดิ์ หนูสาย (ต.วังอ่าง อ.ชะอวด)   1.6) นายบุญนพ นาคปาน (นาหมอบุญ อ.จุฬาภรณ์)   1.7) นายสุพจน์ นาคปาน (ต.นาหมอบุญ อ.จุฬาภรณ์)   1.8) นางสมคิด สารสุวรรณ (ต.นาหมอบุญ อ.จุฬาภรณ์)   1.9) นางศิราณี น้อยสำลี (ต.ละอาย อ.ฉวาง)   1.10) นายอุดม ปรีชา (ต.ยางค้อม อ.พิปูน)   1.11) นายสาธร ส้องเจริญ (ต.หลักช้าง อ.ช้างกลาง)
  2. เกษตรกร 10 ราย ได้รับการพัฒนาศักยภาพ โดยนักวิชาการจาก คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับกยท.นครศรีธรรมราช และ กยท.สาขา (นาบอน ร่อนพิบูลย์ ฉวาง)
  3. เกษตรกรต้นแบบ (แบบ 3) ถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรผสมผสานให้แก่เกษตรกร 9 ราย

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา 16 ก.พ. 2564 12 พ.ย. 2564

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

 

เวทีเครือข่ายร่วมกับ กยท.จัดทำพัฒนาข้อเสนอแนวทางการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยาง และสร้างความร่วมมือขับเคลื่อนและผลักดันทางนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 8 มี.ค. 2564

 

 

 

 

 

ประชุมปรึกษาหารือวางแผนการพัฒนาศักยภาพเกษตรกร พืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช 21 มิ.ย. 2564 21 มิ.ย. 2564

 

ประชุมปรึกษาหารือวางแผนการพัฒนาศักยภาพเกษตรกร พืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

 

ประชุมปรึกษาหารือวางแผนการพัฒนาศักยภาพเกษตรกร พืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

 

ติดตามการดำเนินงานและถอดบทเรียนเกษตรเป้าหมาย 5 ราย โดย กยท. นาบอน 3 ก.ย. 2564 4 ก.ย. 2564

 

  • ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานและถอดบทเรียน การทำพืชร่วมยางในเกษตร 5 ราย
  • ทำการเก็บข้อมูล ในเรื่อง ชนิดและจำนวนพืชที่ปลูกร่วมในสวนยาง รายได้ที่ได้จากผลผลิตพืชที่ปลูกร่วมในสวนยาง ขนาดพื้นที่/ขนาดแปลง
  • นำข้อมูลที่ได้มาออกแบบแปลงเป็นกราฟฟิกของแต่ละแปลง

 

ผลที่ได้จากการลงติดตามแปลงต้นแบบที่ทำพืชร่วมยางและถอดบทเรียน 1. พื้นที่ต้นแบบจำนวน 5 แปลง ได้แก่ 1. คุณปรีชา คงสง 2. คุณลิขิต บุตรมิตร 3. คุณวิมลรัตน์ มีศรี 4. คุณสุชาติ แก้วบัวทอง และ 5.คุณสุมิตร ศรีวิสุทธิ์ 2. ได้รูปแบบการทำพืชร่วมยาง 3. ชนิดและประเภทพืชที่ปลูกร่วมในสวนยางพารา และรายได้จากผลผลิตพืช

 

พัฒนาศักยภาพเกษตรกรสวนยาง 3 รายร่วมกับ กยท. ฉวาง 3 ก.ย. 2564 4 ก.ย. 2564

 

  • ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานและถอดบทเรียน การทำพืชร่วมยางในเกษตร 3 ราย
  • ทำการเก็บข้อมูล ในเรื่อง ชนิดและจำนวนพืชที่ปลูกร่วมในสวนยาง รายได้ที่ได้จากผลผลิตพืช และขนาดพื้นที่
  • นำข้อมูลที่ได้มาออกแบบแปลงเป็นกราฟฟิกของแต่ละแปลง

 

ผลที่ได้จากการลงติดตามแปลงต้นแบบที่ทำพืชร่วมยางและถอดบทเรียน 1. พื้นที่ต้นแบบจำนวน 3 แปลงได้แก่ 1. นายอุดม ปรีชา 2. นางศิราณี น้อยสำลี และ 3. นายสาธร ส่องเจริญ 2. ได้รูปแบบการทำพืชร่วมยาง 3. ชนิดและประเภทพืชที่ปลูกร่วมในสวนยางพารา และรายได้จากผลผลิตพืช

 

พัฒนาศักยภาพเกษตรกรสวนยาง 5 รายร่วมกับ กยท. ร่อนพิบูลย์ 4 ก.ย. 2564 6 ก.ย. 2564

 

  • ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานและถอดบทเรียน การทำพืชร่วมยางในเกษตร 5 ราย
  • ทำการเก็บข้อมูล ในเรื่อง ชนิดและจำนวนพืชที่ปลูกร่วมในสวนยาง รายได้ที่ได้จากผลผลิตพืช และขนาดพื้นที่/ขนาดแปลง
  • นำข้อมูลที่ได้มาออกแบบแปลงเป็นกราฟฟิกของแต่ละแปลง

 

ผลที่ได้จากการลงติดตามแปลงต้นแบบที่ทำพืชร่วมยางและถอดบทเรียน 1. พื้นที่ต้นแบบจำนวน 5 แปลง ได้แก่ 1. นายยงยุทธ์ สุขสวัสดิ์ 2.นายอมรศักดิ์ หนูสาย 3.นายบุญนพ นาคปาน 4.นายสุพจน์ นาคปาน และ 5.นางสมคิด สารสุวรรณ
2. ได้รูปแบบการทำพืชร่วมยาง 3. ชนิดและประเภทพืชที่ปลูกร่วมในสวนยางพารา และรายได้จากผลผลิตพืช