สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์)

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง
ชื่อโครงการ ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์)
ชุดโครงการ แผนงานโซนใต้อันดามัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ เชภาดร จันทร์หอม
คณะทำงาน ? 1) อ.นบ ศรีจันทร์ 2) น.ส.พรองค์อินทร์ ธาระธนผล 3) น.ส.ศ-รีจิตร เขมิยาฑร
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2562
งบประมาณโครงการ 50,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 30
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

 

พื้นที่ดำเนินการ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง
จังหวัด ตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place

หลักการและเหตุผล

 

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง

ได้ข้อมูลผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

เพื่อพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอันดามัน

ได้แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอันดามัน

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 การกลั่นกรองความจำเป็นในการประเมิน (Screening ) 10,000.00 0 3 10,000.00 3 9,405.00 more_vert
23 ส.ค. 61 ประชุมคณะทำงานวิจัยครั้งที่ 1 5 - -
19 ก.ย. 61 ประชุมคณะทำงานวิจัยครั้งที่ 2 5 - -
3 มิ.ย. 62 ประชุมคณะทำงานวิจัย ครั้งที่3 3 - -
2 ขั้นตอนการกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมิน (Scoping) 15,000.00 0 6 15,000.00 6 34,065.00 more_vert
21 ก.ย. 61 การลงพื้นที่ชี้แจงเบื้องต้นงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพบ่อหินฟาร์มสเตย์ 6 - -
28 ก.ย. 61 การสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ 5 - -
3 ต.ค. 61 เวทีกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมิน (Scoping) 20 - -
22 ม.ค. 62 ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์) 8 - -
21-22 พ.ค. 62 ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์) 13 - -
9 ก.ค. 62 ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์) 2 - -
3 ขั้นตอนการประเมิน (Appraisal) 15,000.00 0 2 25,000.00 2 8,250.00 more_vert
3 ธ.ค. 61 ขั้นตอนการประเมิน (Appraisal) 10 - -
7 มิ.ย. 62 เวทีรับฟังความคิดเห็นโดยสาธารณะการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษาบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์) 26 - -
4 การทบทวนร่างรายงานการศึกษา และวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพโดยสาธารณะ (Public Review) 10,000.00 0 - - - - more_vert
รวม 50,000.00 0 11 50,000.00 11 51,720.00

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 29 มี.ค. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
9 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 19 ตุลาคม 2562 14:19:42
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 14:19:59 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ทีมประเมินวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่โซนอันดามัน/จังหวัด 2.ทีมประเมิน ร่วมกับตัวแทนกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ของการท่องเที่ยวชุมชนโซนอันดามัน เพื่อพิจารณาถึงผลกระทบของกิจกรรมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกำหนดสุขภาพ (ปัจจัยด้านคน สภาพแวดล้อม และระบบกลไก) และผลกระทบทางสุขภาพ สรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกิดจากยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน 3.ทีมประเมินสรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่สำคัญจากการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน และจัดทำร่างตัวชี้วัด และเครื่องมือในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของการท่องที่ยวโซนอันดามัน
4.ทีมประเมินจัดประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างทีมประเมินและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะและรับฟังความเห็นจากร่างตัวชี้วัดที่กำหนด หลังจากนั้นทีมประเมินปรับปรุงร่างตัวชี้วัด เครื่องมือในการประเมินและนำมารับฟังความเห็นในกลุ่มใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยทีมประเมิน ทีมผู้รับผิดชอบแผนงาน โครงการ ยุทธศาตร์ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกครั้ง
5. ทีมประเมินนำตัวชี้วัดที่ผ่านการพิจารณาจากข้อที่ 3 มาจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด  และพัฒนาเครื่องมือในการประเมินผล โดยกำหนดร่าง ตามประเด็นสำคัญคือ ตัวชี้วัด คำนิยาม เกณฑ์เป้าหมาย ประชากร/กลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย วิธีการจัดเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล ระยะเวลาการประเมิน รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมิน เป็นต้น 6.ทีมประเมินจัดทำแผนการประเมิน ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 2 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
7 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 19 ตุลาคม 2562 14:40:25
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 14:40:55 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีรับฟังความคิดเห็นโดยสาธารณะการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษาบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มต่างๆในชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ทีมประเมินเก็บรวมรวมข้อมูลตามเครื่องมือ และตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รายละเอียดตามเครื่องมือที่พัฒนาไว้ในขั้นตอนการ กำหนดขอบเขต มาเก็บข้อมูลของแต่ละตัวชี้วัดที่กำหนด ตามลักษณะและคุณลักษณะของเครื่องมือแต่ละตัวชี้วัด เช่น
  1.1. การประชุมกลุ่มย่อย (Focus group) ในผู้ให้ข้อมูลหลัก แต่ละกลุ่มที่ศึกษา
  1.2. อธิบายกระบวนการ วิธีการจัดเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล ระยะเวลาการประเมิน รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมิน แก่ตัวแทนแต่ละกลุ่มประชากรที่ศึกษา เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการดำเนินกิจกรรม โปรแกรม และนโยบายที่มีผลต่อการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของโครงการที่รับผิดชอบ 1.3 ทีมประเมินดำเนินการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ตามแนวทางที่กำหนดขึ้น 1.4.ทีมประเมินรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ  และจัดทำร่างรายงานการประเมินผลกระทบ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 26 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มอาชีพ กลุ่มแกนนำในชุมชนบ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 19 ตุลาคม 2562 12:35:07
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 12:35:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานวิจัย ครั้งที่3

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.จัดตั้งทีมประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ประกอบด้วย (ระบุทีมคณะทำงาน…..)  จำนวน  คน 2.เข้าร่วมการประชุมปฏัติการเพื่อเตรียมความพร้อมทีมประเมินเรื่อง การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน กรณีการท่องเที่ยวชุมชนโซนอันดามัน  (ประชุมทีมประเมินทุกทีมทั้ง 5 จังหวัดพร้อมกัน จัดโดย สจรส แต่ทีมประเมิน ที่เข้าร่วมเบิกค่าใช้จ่ายคือค่าที่พัก ค่าเดินทาง จากโครงการ ค่าอาหารเบิกจาก สจรส.) 3.ทีมประเมินประชุมกลุ่มย่อยเพื่อวางแผนการดำเนินงานจำนวน 3 ครั้ง
4.ทีมประเมินดำเนินการทบทวนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนระดับชาติ/ระดับภาค/ระดับโซน/ระดับจังหวัด/ระดับชุมชน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 3 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 19 ตุลาคม 2562 14:11:50
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 14:12:02 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มอาหาร,กลุ่มปลาเค็ม,กลุ่มที่พัก,กลุ่มจักสานเตยปาหนัน,กลุ่มผ้าบาติก

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ทีมประเมินวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่โซนอันดามัน/จังหวัด 2.ทีมประเมิน ร่วมกับตัวแทนกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ของการท่องเที่ยวชุมชนโซนอันดามัน เพื่อพิจารณาถึงผลกระทบของกิจกรรมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกำหนดสุขภาพ (ปัจจัยด้านคน สภาพแวดล้อม และระบบกลไก) และผลกระทบทางสุขภาพ สรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกิดจากยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน 3.ทีมประเมินสรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่สำคัญจากการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน และจัดทำร่างตัวชี้วัด และเครื่องมือในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของการท่องที่ยวโซนอันดามัน
4.ทีมประเมินจัดประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างทีมประเมินและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะและรับฟังความเห็นจากร่างตัวชี้วัดที่กำหนด หลังจากนั้นทีมประเมินปรับปรุงร่างตัวชี้วัด เครื่องมือในการประเมินและนำมารับฟังความเห็นในกลุ่มใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยทีมประเมิน ทีมผู้รับผิดชอบแผนงาน โครงการ ยุทธศาตร์ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกครั้ง
5. ทีมประเมินนำตัวชี้วัดที่ผ่านการพิจารณาจากข้อที่ 3 มาจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด  และพัฒนาเครื่องมือในการประเมินผล โดยกำหนดร่าง ตามประเด็นสำคัญคือ ตัวชี้วัด คำนิยาม เกณฑ์เป้าหมาย ประชากร/กลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย วิธีการจัดเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล ระยะเวลาการประเมิน รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมิน เป็นต้น 6.ทีมประเมินจัดทำแผนการประเมิน ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 13 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มอาหาร,กลุ่มปลาเค็ม,กลุ่มที่พัก,กลุ่มจักสานเตยปาหนัน,กลุ่มผ้าบาติก

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 มกราคม 2562 เวลา 10:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 19 ตุลาคม 2562 13:53:10
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 13:58:32 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มคนขับเรือ ,กลุ่มเลี้ยงปลากระชัง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ทีมประเมินวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่โซนอันดามัน/จังหวัด 2.ทีมประเมิน ร่วมกับตัวแทนกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ของการท่องเที่ยวชุมชนโซนอันดามัน เพื่อพิจารณาถึงผลกระทบของกิจกรรมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกำหนดสุขภาพ (ปัจจัยด้านคน สภาพแวดล้อม และระบบกลไก) และผลกระทบทางสุขภาพ สรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกิดจากยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน 3.ทีมประเมินสรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่สำคัญจากการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน และจัดทำร่างตัวชี้วัด และเครื่องมือในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของการท่องที่ยวโซนอันดามัน
4.ทีมประเมินจัดประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างทีมประเมินและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะและรับฟังความเห็นจากร่างตัวชี้วัดที่กำหนด หลังจากนั้นทีมประเมินปรับปรุงร่างตัวชี้วัด เครื่องมือในการประเมินและนำมารับฟังความเห็นในกลุ่มใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยทีมประเมิน ทีมผู้รับผิดชอบแผนงาน โครงการ ยุทธศาตร์ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกครั้ง
5. ทีมประเมินนำตัวชี้วัดที่ผ่านการพิจารณาจากข้อที่ 3 มาจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด  และพัฒนาเครื่องมือในการประเมินผล โดยกำหนดร่าง ตามประเด็นสำคัญคือ ตัวชี้วัด คำนิยาม เกณฑ์เป้าหมาย ประชากร/กลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย วิธีการจัดเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล ระยะเวลาการประเมิน รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมิน เป็นต้น 6.ทีมประเมินจัดทำแผนการประเมิน ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มคนขับเรือ ,กลุ่มเลี้ยงปลากระชัง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 ธันวาคม 2561 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเชภาดรเชภาดรเมื่อ 11 เมษายน 2562 16:11:15
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 13 ธันวาคม 2562 15:04:27 น.

ชื่อกิจกรรม : ขั้นตอนการประเมิน (Appraisal)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • คณะวิจัย 2 คน
  • สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด 6 คน
  • กลุ่มคนขับเรือท่องเที่ยว 2 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ทีมประเมินเก็บรวมรวมข้อมูลตามเครื่องมือ และตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รายละเอียดตามเครื่องมือที่พัฒนาไว้ในขั้นตอนการ กำหนดขอบเขต มาเก็บข้อมูลของแต่ละตัวชี้วัดที่กำหนด ตามลักษณะและคุณลักษณะของเครื่องมือแต่ละตัวชี้วัด เช่น
  1.1. การประชุมกลุ่มย่อย (Focus group) ในผู้ให้ข้อมูลหลัก แต่ละกลุ่มที่ศึกษา
  1.2. อธิบายกระบวนการ วิธีการจัดเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล ระยะเวลาการประเมิน รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมิน แก่ตัวแทนแต่ละกลุ่มประชากรที่ศึกษา เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการดำเนินกิจกรรม โปรแกรม และนโยบายที่มีผลต่อการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของโครงการที่รับผิดชอบ 1.3 ทีมประเมินดำเนินการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ตามแนวทางที่กำหนดขึ้น 1.4.ทีมประเมินรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ  และจัดทำร่างรายงานการประเมินผลกระทบ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  • คณะทำงานวิจัย 2 คน
  • สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด 6 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ชี้แจงขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
  • สอบถามกิจกรรมโปรแกรมการท่องเที่ยวของบ่อหิน /ประเภทกลุ่มนักท่องเที่ยว/ระยะเวลา /ความถี่/จำนวนนักท่องเที่ยว
  • สอบถามผลกระทบจากการท่องเที่ยวด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ข้อมูลผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
  • ข้อมูลค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นของกลุ่มคนขับเรือ ในโปรแกรมการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 ตุลาคม 2561 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเชภาดรเชภาดรเมื่อ 5 ตุลาคม 2561 10:06:14
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 13:27:10 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมิน (Scoping)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • คณะทำงานวิจัย 5 คน
  • แกนนำกลุ่มต่างๆในชุมชน ทั้งกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์) กลุ่มผ้าบาติกสตรีบ้านพรุจูด กลุ่มเตยปาหนัน กลุ่มของฝากของที่ระลึก กลุ่มแม่บ้าน/ที่พัก กลุ่มคนขับเรือ และคนนำเที่ยว 15 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ทีมประเมินวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่โซนอันดามัน/จังหวัด 2.ทีมประเมิน ร่วมกับตัวแทนกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ของการท่องเที่ยวชุมชนโซนอันดามัน เพื่อพิจารณาถึงผลกระทบของกิจกรรมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกำหนดสุขภาพ (ปัจจัยด้านคน สภาพแวดล้อม และระบบกลไก) และผลกระทบทางสุขภาพ สรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกิดจากยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน 3.ทีมประเมินสรุปประเด็นปัจจัยกำหนดสุขภาพที่สำคัญจากการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน และจัดทำร่างตัวชี้วัด และเครื่องมือในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของการท่องที่ยวโซนอันดามัน
4.ทีมประเมินจัดประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างทีมประเมินและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะและรับฟังความเห็นจากร่างตัวชี้วัดที่กำหนด หลังจากนั้นทีมประเมินปรับปรุงร่างตัวชี้วัด เครื่องมือในการประเมินและนำมารับฟังความเห็นในกลุ่มใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยทีมประเมิน ทีมผู้รับผิดชอบแผนงาน โครงการ ยุทธศาตร์ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกครั้ง
5. ทีมประเมินนำตัวชี้วัดที่ผ่านการพิจารณาจากข้อที่ 3 มาจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด  และพัฒนาเครื่องมือในการประเมินผล โดยกำหนดร่าง ตามประเด็นสำคัญคือ ตัวชี้วัด คำนิยาม เกณฑ์เป้าหมาย ประชากร/กลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย วิธีการจัดเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล ระยะเวลาการประเมิน รายละเอียดการประเมิน วิธีการประเมิน เป็นต้น 6.ทีมประเมินจัดทำแผนการประเมิน ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 21 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  • คณะทำงานวิจัย 2 คน
  • แกนนำกลุ่มต่่างๆที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ ทั้งกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด กลุ่มผ้าบาติกสตรีบ้านพรุจูด กลุ่มแม่บ้านและที่พัก กลุ่มคนเรือและนำเที่ยว และกลุ่มขายของฝากที่ระลึก รวม 19 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • คณะวิจัยชี้แจงที่มาที่ไป เป้าหมาย โครงการการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    และขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
  • การช่วยกันกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวบ่อหินฟาร์มสเตย์
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • แกนนำกลุ่มต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์เข้าใจที่มาที่ไป เป้าหมายการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
  • แกนนำกลุ่มต่างๆ เข้าใจขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
  • ได้ขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ โดยดูจากโปรแกรมการท่องเที่ยวในชุมชน /กิจกรรมท่องเที่ยว มีขอบเขตเกี่ยวข้องกับ กลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด-กลุ่มผ้าบาติกสตรีบ้านพรุจูด-กลุ่มจักสานเตยปาหนัน-กลุ่มที่พัก/อาหาร-กลุ่มขายของที่ระลึก โดยเนื้อหาการประเมินครอบคลุมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ 
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 กันยายน 2561 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเชภาดรเชภาดรเมื่อ 11 เมษายน 2562 12:48:19
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 12:52:28 น.

ชื่อกิจกรรม : การสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อทำความเข้าใจเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • ทีมคณะทำงานวิจัย 5 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. การสำรวจเส้นทางท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
  2. ทีมประเมินวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่ชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์


กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะวิจัย 4 คน และนักท่องเที่ยว 2 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • คณะวิจัยลงพื้นที่เพื่อสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว one day trip บ่อหินฟาร์มสเตย์
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะวิจัยได้เห็นโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบ่อหิมฟาร์มสเตย์ ประกอบด้วย กิจกรรมบนฝั่ง และกิจกรรมทางทะเล 1) กิจกรรมทางบก ได้แก่ การชมและร่วมฝึกเพ้นผ้ากับกลุ่มผ้าบาติกสตรีบ้านพรุจูด และการชมกิจกรรมจักสานเตยปาหนัน
    2  กิจกรรมทางทะเล ได้แก่ การล่องเรือชมระบบนิเวศป่าชายเลย - การเดินตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน - ชมบ่อน้ำพุร้อนเค็ม - ชมทัศนียภาพอ่าวบุญคง - ชมพระอาทิตย์ตกที่หาดเก็บตะวัน และรับประทานอาหารเย็นที่บ่อหินฟาร์มสเตย์
  • การประเมินกลุ่มผู้ได้ส่วนเสียเบื้องต้นจากโปรแกรมการท่องเที่ยว ได้แก่ กลุ่มสมาชิกสตรีผ้าบาติก ม.2  กลุ่มจักสานเตยปาหนัน กลุ่มวิสาหกิจปลากระชังบ้านพรุจูด (คนขับเรือ คนนำเที่ยว คนทำอาหาร ที่่พัก )
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 กันยายน 2561 เวลา 10:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเชภาดรเชภาดรเมื่อ 11 เมษายน 2562 12:02:15
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 13:03:08 น.

ชื่อกิจกรรม : การลงพื้นที่ชี้แจงเบื้องต้นงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพบ่อหินฟาร์มสเตย์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน กรณีจังหวัดตรัง กับทางแกนนำกลุ่ม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • แกนนำกลุ่มบ่อหินฟาร์มสเตย์ 2 คน
  • ทีมวิจัย 4 คน 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • การลงพื้นที่ชี้แจงแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
  • การวางแผนเบื้องต้นการกำหนดสำรวจเส้นทางท่องเที่ยว และการกำหนดเวทีกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ(scoping)
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  • ทีมวิจัยรวม 5 คน
  • แกนนำกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์) 1 คน 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • การชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
  • ที่มากรณี จังหวัดตรัง กับการเลือกพื้นที่บ่อหินฟาร์มสเตย์
  • การปรึกษาแนวทางการลงพื้นที่ศึกษา และการกำหนดวันจัดเวที scoping เพื่อชี้แจงและกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คุณบรรจง นฤพรเมธี ประธานกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์) เข้าใจที่มา เป้าหมาย และแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
  • ข้อเสนอแนวทางการจัดเวทีในพื้นที่ คือ ควรจัดในช่วงบ่าย ส่วนวันจัดต้องดูเปรียบเทียบกับโปรแกรมการท่องเที่ยว ว่ามีกรุ๊ปนักท่องเที่ยวหรือไม่
    ซึ่งกำลังจะเข้าช่วงหน้าไฮซีซั่น ส่วนใหญ่ เสาร์-อาทิตย์ จะมีนักท่องเที่ยวมาที่กลุ่ม
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 กันยายน 2561 เวลา 16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเชภาดรเชภาดรเมื่อ 11 เมษายน 2562 11:32:00
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 12:30:35 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานวิจัยครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแผนการทำงานประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • คณะทำงานวิจัย 5 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.การประเมินสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง และกรณีบ่อหินฟาร์มสเตย์ 2.วางแผนการลงพื้นที่การทำวิจัยบ่อหินฟาร์มสเตย์  บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เข้าร่วม 5 คน ประกอบด้วย - ภาคราชการ 1 คน - ภาคสื่อมวลชน 2 คน - ภาควิชาการ 1 คน
- ภาคประชาชน 2 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • การทบทวนเป้าหมาย แนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
  • วางแผนการการทำงานและลงพื้นที่บ่อหินฟาร์มสเตย์ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานมีความเข้าใจเป้าหมาย และแนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
  • แผนการดำเนินงาน กิจกรรม
  • ลงพื้นที่ชี้แจงเบื้องต้นการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เดือนกันยายน  (21 กันยายน 2561)
  • ลงพื้นที่สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ เดือนกันยายน
  • ลงพื้นที่ชี้แจงและกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ เดือนตุลาคม
  • ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เดือนพฤศจิกายน 2561 - มกราคม 2562
  • กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปข้อมูลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพฯ  เดือนมกราคม 2562
  • กิจกรรมทบทวนร่างรายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพฯ เดือนกุมภาพันธ์ เดือนกุมภาพันธ์ 2562
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
23 สิงหาคม 2561 เวลา 16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเชภาดรเชภาดรเมื่อ 11 เมษายน 2562 09:54:27
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 19 ตุลาคม 2562 12:08:27 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานวิจัยครั้งที่ 1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน กรณีจังหวัดตรัง 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคีหน่วยงานราชการ ได้แก่ สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง จำนวน 1 คน ภาคีวิชาการ 2 คน  ภาคีสื่อมวลชน 1 คน และภาคีภาคประชาชน 1 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.จัดตั้งทีมประเมินผลกระทบทางสุขภาพฯ ประกอบด้วย ภาคีภาคราชการ ภาคสื่อมวลชน ภาควิชาการ และภาคประชาชน  จำนวน  5 คน 2.ทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน กรณีจังหวัดตรัง
3.วางแผนการดำเนินงานวิจัยการประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ภาคีราชการ 1 คน ได้แก่ คุณศ-จิตร เขมิยาทร จากสำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง ภาคีสื่อมวลชน  1 คน ได้แก่ คุณพรองค์อินทร์ ธาระธนผล นายสมชาย ขุนอินทร์ ภาคีภาคประชาชน 3 คน ได้แก่ นายเชภาดร จันทร์หอม นายไพฑูรย์ นงค์นวล 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    โดยมีเป้าหมายสำคัญครั้งนี้เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    สำหรับกระบวนการใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการประเมินพื้นที่ชุมชนท่องเที่ยวในฝั่งจังหวัดอันดามัน 6 จังหวัด 6 พื้นที่
    ได้แก่ 1) จังหวัดระนอง 2)จังหวัดภูเก็ต 3)จังหวัดพังงา 4) จังหวัดกระบี่ 5) จังหวัดตรัง และ 6) จังหวัดสตูล
    สำหรับจังหวัดตรังเลือกพื้นที่เป้าหมาย บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง
  • สำหรับขั้นตอนก็ใช้รูปแบบขั้นตอนการประเมิน ได้แก่
    1) การกลั่นกรองความจำเป็นในการประเมิน(Screening) ทบทวนสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดตรังและการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ 2) การกำหนดขอบเขตการประเมิน(Scoping) กำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง 3) การประเมินผล (Assessment) การประเมินผล 4) การทบทวนร่างรายงานการประเมินผล (Review) 5) นำข้อมูลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 5 พื้นที่ ประกอบการยกร่างยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนอันดามัน
  • ทีมคณะทำงานวิจัย ประกอบด้วย เชภาดร จันทร์หอม นางสาวพรองค์อินทร์ ธาระธนผล นางสาวศ-รีจิตร เขมิยาทร นายนบ ศรีจันทร์
    ทั้งนี้สำหรับครั้งนี้ อ.นบ จะลงพื้นที่ได้บางครั้งที่ไม่ตรงกับการสอนในมหาวิทยาลัย และจะมีทางนายสมชาย ขุนอินทร์ ช่วยลงเก็บข้อมูลวิจัยถ้าลงพื้นที่ช่วงวันเสาร์ อาทิตย์
  • นำเสนอการไปเข้าร่วมเวที workshop HIA วันที่ 13-14 กรกฎาคม 2561 ณ สจรส.มอ. โดยเป็นการนำเสนอพื้นที่เป้าหมายในการศึกษา สำหรับจังหวัดตรัง ได้แก่ บ่อหินฟาร์มสเตย์
    การทดลองออกแบบการประเมิน ขอบเขต และฝึกปฏิบัติการประเมินความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนตั้งแต่การแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
    แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน พ.ศ.2559-2563 และ แผน CBT อันดามัน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานมีความเข้าใจ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน กรณีจังหวัดตรัง
  • การกำหนดแผนการลงพื้นที่วิจัยเพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-