PSU UNDP

(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส
ชุดโครงการ (UNDP)โครงการพัฒนาแผนป้องกันและฟื้นฟูหลังวิกฤตระดับท้องถิ่น ฯ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอิมรอน หะยีสามะ 080-1381286
คณะทำงาน ?
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณโครงการ 80,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 0
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

 

พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
จังหวัด ปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.762263,101.322086place

หลักการและเหตุผล

ระบบอาหาร ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย ซึ่งสามารถอธิบายความหมายดังต่อไปนี้ ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง คนทุกคนมีความสามารถในการเข้าถึงอาหารที่เพียงพอ ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการได้ตลอดเวลา (พรรณภัทร ปลั่งศรีเจริญสุข, 2560) อาหารปลอดภัย คือ อาหารที่ครัวเรือนผลิตได้หรือซื้อมาจากภายนอกจะต้องปลอดสารพิษ ย่าฆ่าแมลง และสารปนเปื้อน ทั้งที่อยู่ในรูปของเชื้อโรค และสารเคมีที่เป็นพิษต่าง ๆ รวมทั้งสามารถถนอมอาหารไว้บริโภคไว้ในเมื่อยามจำเป็น (อภิญญา ตันทวีวงศ์, 2556) โภชนาการสมวัย หมายถึง อาหารที่เข้าสู่ร่างกายมนุษย์แล้วร่างกายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเจริญเติบโต การค้ำจุน และซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนั้น การได้รับประทานอาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่วน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับมนุษย์ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรง (สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557)
      องค์การบริหารส่วนตำบลยะรังมีพื้นที่ความรับผิดชอบทั้งหมด 6.46 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 6 หมู่ มีประชากรทั้งหมด 6,560 คน แบ่งเป็นเพศชาย 3,298 คน เพศหญิง 3,262 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตร รองลงมาอาชีพรับจ้าง จากอาชีพหลักของประชากรในพื้นที่ตำบลยะรัง จะเห็นได้ว่า วิถีชีวิตแบบชาวเกษตรกร ยังเป็นวิถีชีวิตหลักของคนในพื้นที่ ซึ่งสามารถต่อยอดกระบวนปลูก การผลิต รวมถึงการจัดจำหน่ายที่มีคุณภาพ แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต และการประกอบอาชีพประจำวันของชาวเกษตรกรในพื้นที่ ในด้านการส่งออกผลผลิตทางการเกษตร การใช้วัตถุดิบทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืช อาหารสัตรสำเร็จรูปแบบอัดเม็ดซึ่งมีส่วนผสมของยาหรือสารเคมีอื่นๆ       จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 0-12 ปี ในพื้นที่ตำบลยะรัง มีจำนวนเด็กประมาณ 1,585 คน ซึ่งมีภาวะสูงดีสมส่วน 713 คน คิดเป็นร้อยละ 44.98 (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง,2564) ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังมีเด็กที่ขาดภาวะโภชนาการที่สมส่วนอีกมากมาย ทั้งนี้จึงจำเป็นที่จะดำเนินการจัดกระบวนการเกี่ยวกับเรื่องอาหาร ที่ต้นน้ำ (การปลูกพืชผักที่ปลอดภัย การเลี้ยงสัตว์ ไร้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ฯลฯ ) กลางน้ำ (การนำพืชผัก ไปปรุงให้ครบหลักโภชนาการ 5 หมู่) ปลายน้ำ (การเลือกบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ) จึงจะเกิดการจัดการระบบอหารที่ครอบคลุม ทั้ง ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย
      องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ตำบลยะรัง ในเรื่องของระบบอาหาร ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย จึงได้จัดโครงการส่งเสริมศักยภาพชุมชนในการขับเคลื่อนระบบอาหารตำบลยะรัง ขึ้น

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ตำบลยะรัง

 

เพื่อส่งเสริมแหล่งอาหารประเภทปศุสัตว์เลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่

 

เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในพื้นที่ตำบลยะรัง

 

เพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อนระบบอาหารในพื้นที่ ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย

 

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

กิจกรรมย่อยที่ยังไม่กำหนดกิจกรรมหลัก

1 ก.ค. 2564 กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพระบบอาหารปลอดภัย 20 19100.00
1 ก.ค. 2564 กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร 0 60900.00
1 ธ.ค. 2564 กิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 20 0.00
รวม 0.00 0 3 80,000.00 2 60,900.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (80,000.00 บาท)

คำเตือน : งบประมาณของโครงการ (80,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
30 กันยายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยpsuundp9psuundp9เมื่อ 30 กันยายน 2564 14:04:31
Project owner
แก้ไขโดย psuundp9 เมื่อ 30 กันยายน 2564 14:30:27 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร

  • photo ส่งมอบวัสดุการเสี้ยงสัตว์ส่งมอบวัสดุการเสี้ยงสัตว์
  • photo ส่งมอบวัสดุการเสี้ยงสัตว์ส่งมอบวัสดุการเสี้ยงสัตว์
  • photo ไข่เป็ดฟองแรกจากการเลี้ยงไข่เป็ดฟองแรกจากการเลี้ยง
  • photo เป็ดไข่ที่เลี้ยงโดยกลุ่มเยาวชนบ้านตรอซันเป็ดไข่ที่เลี้ยงโดยกลุ่มเยาวชนบ้านตรอซัน
  • photo ไก่ไข่ที่เลี้ยงโดยกลุ่มเยาวชนบ้านตรอซันไก่ไข่ที่เลี้ยงโดยกลุ่มเยาวชนบ้านตรอซัน
  • photo เป็ดไข่ที่เลี้ยงโดยกลุ่มเยาวชนบ้านตรอซันเป็ดไข่ที่เลี้ยงโดยกลุ่มเยาวชนบ้านตรอซัน
  • photo
  • photo ไก่ไข่จำนวน 100 ตัวไก่ไข่จำนวน 100 ตัว
  • photo
  • photo อุปกรณ์และอาหารสัตว์อุปกรณ์และอาหารสัตว์
  • photo ชุมชน ภาคีเครือข่ายสนับสนุนเครื่องบดอาหาร สำหรับใช้ในการบดต้นกล้วยชุมชน ภาคีเครือข่ายสนับสนุนเครื่องบดอาหาร สำหรับใช้ในการบดต้นกล้วย
  • photo อาหารเสริมไก่และเป็ด ทำจากต้นกล้วยที่หมักไว้ประมาณ 1 เดือนอาหารเสริมไก่และเป็ด ทำจากต้นกล้วยที่หมักไว้ประมาณ 1 เดือน
  • photo การปลูกพริก แซมในสวนทุเรียนการปลูกพริก แซมในสวนทุเรียน
  • photo ติดตามดำเนินปลูกผักแซม ทุเรียน ประกอบด้วย แตงกวา พริกสวนติดตามดำเนินปลูกผักแซม ทุเรียน ประกอบด้วย แตงกวา พริกสวน
  • photo ผู้บริหาร สมาชิกกลุ่ม ร่วมกันลงพื้นที่ติดตามแนวทางการปลูกพืชสวนครัวปลอดสารพิษผู้บริหาร สมาชิกกลุ่ม ร่วมกันลงพื้นที่ติดตามแนวทางการปลูกพืชสวนครัวปลอดสารพิษ
  • photo ผู้บริหาร สมาชิกกลุ่ม ร่วมกันลงพื้นที่ติดตามแนวทางการปลูกพืชสวนครัวปลอดสารพิษผู้บริหาร สมาชิกกลุ่ม ร่วมกันลงพื้นที่ติดตามแนวทางการปลูกพืชสวนครัวปลอดสารพิษ
  • photo กลุ่มเยาวชนบ้านตรอซัน นำเสนอการปลูกผักไฮโดรโปรนิกโดยใช้ระบบน้ำ สามารถจัดส่งให้กับคนในพื้นที่และครัวเรือนใกล้เคียงกลุ่มเยาวชนบ้านตรอซัน นำเสนอการปลูกผักไฮโดรโปรนิกโดยใช้ระบบน้ำ สามารถจัดส่งให้กับคนในพื้นที่และครัวเรือนใกล้เคียง
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย - ส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบ โดยการดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนพันธุ์ไก่ไข่ เป็ดไข่ อาหาร และวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงสัตว์ต่างๆ - ส่งมอบไก่ไข่ และเป็ดไข่ และวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยง - ติดตามการเลี้ยงสัตว์ 2 สัปดาห์ครั้ง โดยผ่านกลุ่มไลน์ ภาคีเครือข่ายการจัดการระบบอาหารตำบลยะรัง
- กลุ่มเยาวชนบ้านตรอซัน มีการจัดทำบัญชี รายรับรายจ่าย และบัญชีผลผลิตในการเลี้ยงสัตว์ - กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย การปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครัวเรือนและชุมชนมีพื้นที่ผลิตทั้งการเกษตร ปศุสัตว์ ที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้คนในชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพมีอาหารที่บริโภคตลอดแม้อยู่ในภาวะวิกฤต

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
30 กันยายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยpsuundp9psuundp9เมื่อ 30 กันยายน 2564 14:41:35
Project owner

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

  • photo ทีมงานลงพื้นที่ ติดตามงานความคืบหน้าครั้งที่ 1ทีมงานลงพื้นที่ ติดตามงานความคืบหน้าครั้งที่ 1
  • photo ทีมงานลงพื้นที่ ติดตามงานความคืบหน้าครั้งที่ 1ทีมงานลงพื้นที่ ติดตามงานความคืบหน้าครั้งที่ 1
  • photo ทีมงานลงพื้นที่ ติดตามงานความคืบหน้าครั้งที่ 1ทีมงานลงพื้นที่ ติดตามงานความคืบหน้าครั้งที่ 1
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม และภาคีเครือข่าย - ครั้งที่ 1 การติดตามความคืบหน้าการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดผลผลิตจากไก่ไข่ และเป็ดไข่
- การวางแผน สร้างแนวทางการดำเนินงานหลังจากที่ได้ผลผลิต เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยังไม่สามารถเปิดการเรียนการสอนได้  ทางกลุ่มและทีมงานได้วางแผน ปรับการดำเนินงาน ให้กลุ่มมีรายได้ในการจัดซื้ออาหารสัตว์ต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.