รายชื่อนวัตกรรม

Laksana1985.. เมื่อ 27 เม.ย. 2565 02:56 น.
junjitthiensiri เมื่อ 4 เม.ย. 2563 09:46 น.
มหาวิทยาลัยฟาร์อีเทอร์นแนวทางการจัดตั้งกลุ่มฝึกวิชาชีพทอผ้าไหมในทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ (ปี 2563)ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ เป็นหนึ่งในเรือนจำที่ทำหน้าที่ดูแลนักโทษหญิง เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวิสัยทัศน์และพันธกิจของกรมราชทัณฑ์ ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ ได้ดำเนินการฝึกอบรมวิชาชีพต่างๆ ให้กับผู้ต้องขัง เพื่อให้มีทักษะประสบการณ์ มีทางเลือกในการประกอบอาชีพสุจริตภายหลังจากพ้นโทษ
การฝึกวิชาชีพกลุ่มทอผ้าไหมเป็นกลุ่มวิชาชีพที่เริ่มตั้ง ปี พ.ศ. 2556 ซึ่งพบว่า มีปัญหาค่อนข้างมาก ต้องพึ่งพาวิทยากรจากภายนอกมาถ่ายทอดทักษะความรู้ในการทอผ้า ขาดความต่อเนื่องในการเข้ามาสอน มีวิทยากรสอนหลายคนสอนให้ทำคนละเทคนิคทำให้ผู้เรียนเกิดความสับสน ขาดวัสดุอุปกรณ์ เมื่อมีปัญหาในการทอหรืออุปกรณ์เสียแก้ไขปัญหาไม่ได้ ต้องรอวิทยากรมาช่วย จากปัญหาที่กล่าวมาเป็นที่มาของโจทย์งานวิจัยระยะที่ 1 “การพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพทอผ้าไหมแบบมีส่วนร่วมของทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่” ดำเนินการระหว่างตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 และได้ดำเนินงานวิจัยต่อเนื่องมาระยะที่ 2 ซึ่งเป้าหมายคือเพื่อเสริมสร้างความชำนาญการให้ผู้ต้องขังพร้อมที่จะถ่ายทอดสู่ผู้ต้องขังรุ่นต่อไป จึงเป็นที่มาของงานวิจัยระยะที่ 2 “แนวทางการพัฒนาผู้ต้องขังให้เป็นครูสอนการทอผ้าไหมแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มวิชาชีพทอผ้าไหม ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่” ดำเนินการระหว่างกรกฏาคม 2560 ถึง เมษายน 2562 ได้งบสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น และกรมหม่อนไหม
จากการดำเนินงานวิจัยทั้งสองระยะ ทีมวิจัยได้จัดตั้ง “ศูนย์วิจัยชุมชนกลุ่มฝึกวิชาชีพทอผ้าไหมในทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่” และถอดบทเรียนที่เป็นองค์ความรู้แนวทางการจัดตั้งกลุ่มฝึกวิชาชีพทอผ้าไหม เพื่อเป็นต้นแบบให้กับเรือนจำหรือทัณฑสถานอื่นที่มีความสนใจ
learnoffice เมื่อ 11 ม.ค. 2563 10:50 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กบยิ้ม ไก่แย้ม หมู่ที่ 6บ้าน อพป.คลองน้ำใส ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืนโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในชุมชนหมู่ที่6อพป.บ้านคลองน้ำใส ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว พบว่า สภาพปัญหาที่ทั่วไปผู้นำชุมชนขาดความเข้มแข็งส่งผลให้สมาชิกในหมู่บ้านขาดความสามัคคี แบ่งเป็นหลายกลุ่มขาดความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมของชุมชน รวมไปถึงปัญหายาเสพติด การพนัน และชุมชนกลุ่มครัวเรือนเป้าหมายมีทักษะความรู้เดิมและกลุ่มเป้าหมายมีประสบการณ์มีสถานที่พร้อม บ่อกบ พื้นที่สำหรับเลี้ยงไก่ในการเลี้ยงไก่ไข่และกบเป็นทุนเดิมแต่ขาดทุนทรัพย์ในการซื้อพันธุ์ไก่ไข่ และพันธุ์กบขาดความรู้ในการประกอบการและขาดเครื่องมือ อุปกรณ์ในการประกอบการบางครัวเรือนมีแต่ต้องปรับปรุงเพิ่มเติม ดังนั้นคณะอาจารย์ที่ลงพื้นที่แก้ปัญหาความยากจนได้สำรวจความต้องการและประชุมปฏิบัติการร่วมกับชุมชนและผู้นำชุมชน และชุมชน
ครัวเรือนเป้าหมายจำนวน 6ครัวเรือนมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 4ครัวเรือนและเลี้ยงกบจำนวน 2ครัวเรือน
ดังนั้น วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนโดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 11 ม.ค. 2563 09:45 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ หมู่ที่ 6 บ้านทับพริก ต.ทับพริก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึง สิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรม นาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำาเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของ ประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนา โภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชน และประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมี พระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำาริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลัง ปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่ คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไข ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญ ในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในบ้านทับพริก หมู่ที่ 6 ตำบลทับพริก อำเภออรัญ ประเทศ จังหวัดสระแก้ว พบว่า สมาชิกในชุมชนมีความต้องการเพิ่มรายได้ในครัวเรือน ประกอบ กับในพื้นที่ตำบลทับพริกมีวิสาหกิจเกษตรแบบผสมผสานเป็นผู้รวบรวมผลผลิตปุ๋ยอินทรีย์และบรรจุ หีบห่อเพื่อจัดจำหน่ายเป็นสินค้าชุมชน ภายใต้เครื่องหมายการค้าเดียวกัน แต่ในปัจจุบันปริมาณปุ๋ยที่ ผลิตได้ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด และชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้อง ร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการเสริมสร้างความรู้และทักษะด้านการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ รวมทั้งความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถนำไปประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม เนื่องจาก สามารถหาวัตถุดิบคือมูลโคนมได้จากกลุ่มผู้เลี้ยงโคและแพะในชุมชน มีแหล่งรับซื้อผลผลิตซึ่งเป็น วิสาหกิจเกษตรตั้งอยู่ในชุมชน และผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์จากการเลี้ยงไส้เดือนเป็นที่ต้องการของตลาด นอกจากนี้ในการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์จากการเลี้ยงไส้เดือนให้กับวิสาหกิจชุมชนตำบลทับพริกยัง สามารถเพิ่มมูลค่าของมูลโคนมจาก 1.7 บาท เป็น 10 - 15 บาท ต่อกิโลกรัม
ดังนั้นวิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน ท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริม เศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 10 ม.ค. 2563 14:51 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์มันเห็บแปรรูป (มันชายแดน) หมู่ที่ 1 บ้านคลองน้ำใส ต.คลองใส อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว (ปี 2562)มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประ
สงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎพ.ศ.2547
มาตรา7ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของ
แผ่นดินซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพ
เป็นเลิศโดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพการยกคุณภาพมาตรฐาน
ชีวิตของชุมชนท้องถิ่นและพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนพร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่3การพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอดเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือ
ข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น
สามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนโดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเอง
ได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสมสามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงร่วม
กับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มคุณค่าและมูลค่าเสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ
เข้มแข็งมั่นคงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืนส่งผลให้ชุมชน
หมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 10 ม.ค. 2563 13:21 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การแปรรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวเม่า หมู่ที่ 2 บ้านเนินสะอาด ตำบลเมืองไผ่ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560
ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย
ค านึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ
รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร
พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
ประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา
เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พ.ศ.2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลัง
ปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏสู่
คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ
มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมี
กลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา
ของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการ
พัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในหมู่ที่ 2 บ้านเนินสะอาด ตำบลเมืองไผ่ อำเภอ
อรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ซึ่งในชุมชนนี้มีจำนวนครัวเรือนตามทะเบียนราษฎร์ทั้งหมด 200
ครัวเรือน แต่มีผู้อาศัยจริงจำนวน 150 ครัวเรือน และครัวเรือนที่ตกเกณฑ์หรือมีความยากจนจำนวน
100 ครัวเรือน ทีมงานของคณะวิทยาการจัดการได้ลงพื้นที่ส ารวจชุมชนหมู่ที่ 2 บ้านเนินสะอาด
พบว่า คนในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนาปลูกข้าวเม่า บางส่วนปลูกข้าวหอมมะลิ
และประกอบอาชีพอื่นๆ ได้แก่ ค้าขาย รับจ้าง ตัดเย็บเสื้อผ้า ภูมิปัญญาของชุมชนบ้านเนินสะอาดคือ
การทำข้าวเม่า ทุนทางสังคมมีการรวมกลุ่มอาชีพและจัดตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวเม่านํ้านม
100% จากการพูดคุยกับคนในชุมชนได้ทราบถึงปัญหาของชุมชนที่มีผลกระทบต่อการทำเกษตร การ
ปลูกข้าวเม่าคือการขาดแหล่งนํ้า จึงไม่สามารถปลูกข้าวเม่าได้ตลอดทั้งปี ทำให้ได้ผลผลิตข้าวเม่าเพียง
ปีละ 1-2 ครั้งเท่านั้น และชุมชนบ้านเนินสะอาด ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนเป้าหมาย 3 ครัวเรือน และคน
ในชุมชนที่มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำนวน 15 ราย ดังนั้นจึงมีความเห็น
พ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการให้ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ชุมชน การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชน (ข้าวเม่า)
ดังนั้น คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้
จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นเสริม
พลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหาร
จัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานราก
ในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 9 ม.ค. 2563 16:26 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ผลิตภัณฑ์หน้ากากผ้าทอมือป้องกันฝุ่น PM 2.5 หมู่ที่ 8 บ้านภักดีแผ่นดิน ต.หนองหมากฝ้าย อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชนในเขตพื้นที่ที่มหาวิทยาลัยรับผิดชอบได้แก่ พื้นที่จังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว ซึ่งสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ ได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน
จากประเด็นดังกล่าวจึงมีการศึกษาบริบทและปัญหาของหมู่ที่ 8 บ้านภักดีแผ่นดิน ตำบลหนองหมากฝ้าย อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว พบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่ยากจน รายได้ของครัวเรือนไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ และขาดโอกาสในการพัฒนาทักษะทางอาชีพ โอกาสในการเข้าถึงปัจจัยการผลิต เช่น ตลาดและวัตถุดิบ คณะผู้จัดทำโครงการภายใต้คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้สร้างเครือข่ายนักพัฒนาและแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่น จัดทำแผนพัฒนาครัวเรือนในการแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน และจัดทำโครงการหน้ากากผ้าทอมือป้องกันฝุ่น PM 2.5 บ้านภักดีแผ่นดิน เพื่อแก้ปัญหาของชุมชนดังกล่าว เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน มีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายและชุมชนมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 9 ม.ค. 2563 12:06 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรท้องถิ่น (ยาหม่องไพล และนํ้ามันไพล) หมู่ที่ 6 บ้านใหม่ไทยพัฒนา ต.หนองตะเคียนบอน อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560
ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลย
เดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ
รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร
พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
ประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่
10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ
พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลัง
ปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎ
สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ
มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไข
ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญ
ในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในหมู่ 6 บ้านใหม่ไทยพัฒนา ตำบลหนองตะเคียน
บอน อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว พบว่า ชาวบ้านในชุมชนต้องการอนุรักษ์สมุนไพรท้องถิ่น และ
ต้องการสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรท้องถิ่น และชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่
จะต้องจัดให้มีการจัดทำบัญชีสมุนไพรท้องถิ่น และและเรียนรู้เรื่องการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
ท้องถิ่น เช่น นํ้ามันไพล และยาหม่องสมุนไพร เป็นต้น เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน
ดังนั้น คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์
จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น
เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถ
บริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำพรงชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานราก
ในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 9 ม.ค. 2563 11:20 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์นํ้าพริก ปลาย่างร่มควันและปลาส้ม หมู่ที่ 3 บ้านห้วยชัน ต.ช่องกุ่ม อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ20 ปีของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์20 ปีระหว่างปี2560
ถึง ปี2579 โดยน้อมน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช
บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้
ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนา
โภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชน
และประเทศชาติซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมี
พระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการ ในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้
มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.
2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา
ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพ
เป็นเลิศโดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต
ของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริโดยมีกลยุทธ์ในการสร้าง
เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและ
เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และ
ท้องถิ่น มีกลไก สนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของ
มหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาการบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมี
กระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน
และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำ
หน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการ
ออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่
เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคีมีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้
สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงได้กำหนดแนวทางการทำงานที่มุ่งเน้นการ
ทำงานบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน ประสานงาน และดำเนินโครงการ
ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านงานบริการวิชาการ โดยในปี2561 นี้
มหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานใน
มหาวิทยาลัย ซึ่งดำเนินการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีจานวน 27 หมู่บ้าน พื้นที่จังหวัดสระแก้ว 25
หมู่บ้าน การดำเนินงานในระยะแรกเป็นการสำรวจข้อมูลชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริง
ของชุมชนและสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดน าไปสู่
การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงจัดทำโครงการ
สร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชน
ท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิต
ตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ
เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชน
หมู่บ้าน มีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว จึงได้จัดทำ
โครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้
ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการ
ชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน
ให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 8 ม.ค. 2563 16:30 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ผลิตภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพร หมู่ที่ 3 บ้านไร่สามสี ต.วังสมบูรณ์ อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่และใช้หลักการ ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริ ของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๗ ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมีกระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชนและสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน โดยการออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่ เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคมและเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จึงได้กำหนดแนวทางการทำงานที่มุ่งเน้นการทำงานบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน ประสานงาน และดำเนินโครงการตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านงานบริการวิชาการ โดยในปี 2561 นี้ มหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย ซึ่งดำเนินการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 27 หมู่บ้าน พื้นที่จังหวัดสระแก้ว 25 หมู่บ้าน ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดสระแก้ว จำนวน 1 หมู่บ้าน การดำเนินงานในระยะแรกเป็นการสำรวจข้อมูลชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชนและสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนำไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 8 ม.ค. 2563 09:38 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การแปรรูปผ้าย้อมสีจากธรรมชาติ หมู่ที่ 3 บ้านวังยาว ต.คลองหินปูน อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการ ในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมีกระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงได้กำหนดแนวทางการทำงานที่มุ่งเน้นการทำงานบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน ประสานงาน และดำเนินโครงการตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านงานบริการวิชาการ โดยในปี 2561 นี้ มหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย ซึ่งดำเนินการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 27 หมู่บ้าน พื้นที่จังหวัดสระแก้ว 25 หมู่บ้าน จึงจัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว ได้มีส่วนในการ รับผิดชอบพื้นที่หมู่ 3 บ้านวังยาว ตำบลคลองหินปูน อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยมี อาจารย์วุฒิวัฒน์ อนันต์พุฒิเมธ เป็นผู้รับผิดชอบ การดำเนินงานในระยะแรกเป็นการสำรวจข้อมูลชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชนและสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนำไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 15:33 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การแปรรูปปลาแผ่นและนํ้าพริกปลาฟู บ้านทัพหลวง หมู่ 7 ต.ตาหลังใน อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎ สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในหมู่7 ตำบลตาหลังใน อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว พบว่า ในเขตพื้นที่หมู่ 7 มีลำคลองที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญหลัก คือ คลอง พระสะทึง ซี่งมาจากอ่างเก็บน้ำพระสะทึงบริเวณใกล้เคียง และส่งผลให้คนในชุมชนส่วนใหญ่จึงมีอาชีพเกษตรกรรม มีการเพาะปลูกตลอดทั้งปี และส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์แหล่งอาหารของคนในชุมชนตามธรรมชาติ อาทิ ปลา หน่อไม้ เป็นต้น ปลาเป็นสัตว์น้ำที่มีมากในธรรมชาติ และเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย โตไว จึงมีจำหน่ายมากในท้องถิ่นและตลาดใกล้เคียงในราคาถูกกว่าตลาดทั่วไป และเนื่องจากครัวเรือนเป้าหมายมีอาชีพเกษตรกรรม เพาะปลูกลำใย เลี้ยงแพะ วัว และเลี้ยงปลาดุกเพื่อจำหน่ายให้พ่อค้าคนกลางในราคาถูก ทำให้มีรายได้น้อยและไม่พอกับรายจ่าย อีกทั้งไม่มีความรู้ด้านการแปรรูปอาหาร จึงเกิดแนวคิดพัฒนาเสริมสร้างอาชีพและรายได้จากทรัพยากรที่มีในครัวเรือน ท้องถิ่น และบริเวณใกล้เคียง ตลอดจนหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการ OTOP นวัตวิถี ทำให้เกิดโอกาสช่องทางการตลาดในการจำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนสร้างรายได้อีกด้วย และทางชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากปลา ได้แก่ ปลาแผ่น และน้ำพริกปลาฟู เพื่อเพิ่มได้รายได้
ดังนั้นหลักสูตรคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 14:44 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนาไม้กวาดดอกหญ้าแบบ 4 เส้า หมู่ที่ 7 คลองน้ำเขียว ต.ท่าแยก อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560
ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ
รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร
พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
ประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่
10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.
2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา
ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพ
เป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต
ของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการ
สร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน
ท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนา
ชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในหมู่บ้านคลองน้ำเขียว หมู่ที่ 7 ตำบลท่าแยก
อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร แต่
ประชากรบางส่วนยังขาดที่ดินทำกิน และมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายใน ถึงแม้มีหน่วยงาน
ภาครัฐเข้ามาดูแล และสนับสนุนสนุในเรื่องของอาชีพ เช่น กระเป๋าสานจากเส้นพลาสติก เสื้อสกรีน
หมวก พวงกุญแจลายผีเสื้อ และของที่ระลึกต่างๆ เพื่อจำหน่ายให้กับนักท่องเที่ยวเพื่อเป็นอาชีพเสริม
แต่อย่างไรก็ตามของที่ระลึกที่จัดทำขึ้นไม่ได้รับการตอบรับจากนักท่องเที่ยวมากพอ และไม่มีตลาดในการจำหน่าย ทำให้เกิดการตกค้างของสินค้าและการหยุดชะงักของทุนหมุนเวียนของการผลิต
ประชาชนและครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีโครงการการทำไม้กวาดดอก
หญ้าซึ่งเป็นโครงการที่ตอบโจทย์คนในชุมชนมากที่สุด เนื่องจากไม้กวาดดอกหญ้าสามารถใช้ได้ทุก
ครัวเรือน, จำหน่ายง่าย, ไม่มีวันหมดอายุ, และตอบโจทย์แรงงานในชุมที่ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ รวมถึง
มีหมู่บ้านข้างเคียงเป็นต้นแบบซึ่งทำแล้วประสบความสำเร็จสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ได้ โดยจะ
ดำเนินการจัดตั้งเป็นกลุ่มและมีครัวเรือนตนแบบในการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในการเพิ่ม
รายได้ให้คนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ และเป็นแบบอย่างสู่ครัวเรือนอื่นๆ ในชุมชน และอาจ
ขยายผลไปสู่การสร้างวัตถุดิบเพื่อการผลิตและจำหน่ายเองในอนาคต
ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์สระแก้ว จึงได้จัดทำ
โครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้
ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการ
ชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน
ให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 14:08 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เกษตรอินทรีย์ วิถีชุมชนคนคลองอาราง หมู่ทีี่ 16 คลองอาราง ต.บ้านแก้ง อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560
ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลย
เดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ
รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร
พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
ประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่
10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.
2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา
ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพ
เป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐาน
ชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการ
สร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน
ท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความส าคัญในการพัฒนา
ชุมชน และท้องถิ่น
จากการสำรวจข้อมูลทั้งจากแบบสอบถามและจากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้นำชุมชน พบว่า
ครัวเรือนส่วนใหญ่มีรายได้น้อย เมื่อนำมาเทียบกับรายจ่ายที่เกิดขึ้นก็อาจจะสรุปได้ว่าอยู่ในเกณฑ์
ยากจน และมีความต้องการที่จะเพิ่มช่องทางของรายรับให้มากขึ้น แต่ด้วยคนในชุมชนส่วนหนึ่ง
จะต้องออกเดินทางไปทำงานภายนอกชุมชน ส่วนคนที่เหลืออยู่ก็เป็นกลุ่มวัยกลางคนบางสวนที่มี
อาชีพด้านเกษตรกรรม และกลุ่มผู้สูงอายุจากศักยภาพและความพร้อมของชุมชนที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์ ผู้รับผิดชอบ
โครงการได้ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาโดยอาศัยจุดแข็งสำคัญคือ การมีผู้นำ
ชุมชนที่มีความรู้และเข้มแข็ง การบริหารงานด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม การมีอาชีพดังเดิมคือการทำ
การเกษตร การมีพื้นที่สาธารณะประโยชน์ที่จัดสรรสำหรับคนในชุมชนซึ่งติดต่อกับแหล่งนํ้่าของชุมชน
และด้วยเหตุนี้จึงมีการกำหนดเป้าหมายคือ “การพัฒนาด้านการเกษตร” โดยได้กำหนดครัวเรือน
เป้าหมายโดยอาศัยความพร้อมและความสมัครใจในการเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากจะต้องผ่าน
กิจกรรมกระบวนการต่างๆที่จะจัดขึ้น ซึ่งหากเลือกครัวเรือนที่ยากจนแต่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการ
ได้อย่างเต็มที่ก็จะส่งผลต่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพของโครงการฯ
ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ศูนย์สระแก้ว จึงได้จัดทำ
โครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้
ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการ
ชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน
ให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง น ำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 12:58 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์น้ำพริกไข่แดงสมุนไพร น้ำพริกปลาร้าสมุนไพร น้ำพริกข่าปลาแห้ง บ้านคลองหมากนัด หมู่ที่ 11 ตำบลบ้านแก้ง อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อ ในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมีกระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
ดังนั้นจึงได้กำหนดแนวทางการทำงานที่มุ่งเน้นการทำงานบริการวิชาการรับใช้สังคม ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย สำหรับหมู่บ้านคลองหมากนัด หมู่ที่ 11 ตำบลบ้านแก้ง อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว เป็นหนึ่งในหมู่บ้านที่มหาวิทยาลัยเลือกเข้าไปดำเนินการสำรวจข้อมูลชุมชนให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหา และสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนาที่แท้จริง เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนำไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน และได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 11:51 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนาการเลี้ยงกบ หมู่ที่ 15 บ้านปางสีดา ต.ท่าแยก อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน
โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในหมู่บ้านปางสีดา หมู่ที่ 15 ตำบลท่าแยก อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว พบว่า ในกลุ่มครัวเรือนเป้าหมายมีการจัดการพื้นที่ในบริเวณบ้านหรือพื้นที่สวนสำหรับการปลูกผักสวนครัว และมีความต้องการที่จะเลี้ยงกบเพิ่มเติมในพื้นที่ของตนเอง เพื่อเป็นการเสริมรายได้ในครัวเรือนอีกทางหนึ่ง เพราะในกลุ่มครัวเรือนเป้าหมายเป็นผู้ที่มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงกบ เป็นอาชีพเสริมในครัวเรือนและสามารถที่จะขายกบโตเพื่อเป็นรายได้ในครัวเรือนของตนเอง อีกทั้งยังมีหน่วยงานที่มีความรู้เรื่องการเพาะพันธุ์กบ การเลี้ยงกบอยู่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน
ที่สามารถให้ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงกบแบบครบวงจรให้กับกลุ่มครัวเรือนเป้าหมายได้อีกด้วย และชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการดำเนินกิจกรรมเลี้ยงกบ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเองให้สามารถมีรายได้ที่เพียงพอกับการใช้จ่ายในครัวเรือนตนเอง และให้เป็นองค์ความรู้ที่สามารถถ่ายทอดสู่ผู้อื่นและขยายผลไปสู่การแปรรูปให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ ให้เกิดขึ้นภายในชุมชนได้ในอนาคต
ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 10:41 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การแปรรูปเกล็ดปลาตะเพียน หมู่ที่ 3 บ้านหนองปรือ ต.ทัพราช อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว (ปี 2562)สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมอบ
พระบรมราโชบายด้านการศกึษาผ่านองคมนตรีซึ่งมีใจความสําคัญที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ทั้ง 38 แห่งทั่วประเทศว่าให้องคมนตรีแนะนํามหาวิทยาลัยราชภัฏให้ทํางานให้เข้าเป้าในการยกระดับ
การศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นในท้องที่ตน ดังนั้นเพื่อเป็นการสนองพระบรมราโชบาย
ทางกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎทั้ง 38 แห่ง จึงได้ร่วมจัดทําแผนยุทธศาสตร์ใหม่ เพื่อพัฒนาท้องถิ่น
4 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านการพัฒนาท้องถิ่น 2.ด้านการผลิตและพัฒนาครู 3.ด้านการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและ 4.ด้านระบบริหารจัดการเพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนผลิตและพัฒนาครู
ยกระดับคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ควบคูมไปกับการพัฒนาท้องถิ่นอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ตามพระบรมราโชบายระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ได้นําแนวทางดังกล่าวสู่กําหนดแนวทางการพัฒนาผ่านมายังนโยบายสภามหาวิทยาลัยฯ แปลงไปสู่
ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต่างๆภายในมหาวิทยาลัยฯ โดยมีเป้าหมายสําคัญคือการพัฒนาชุมชน
และท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนในเชิงประจักษ์ ในพื้นที่ที่มหาวิทยาลัยรับผิดชอบ
คือจังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสระแก้ว
ด้วยเหตุนี้จึงเกิดโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติ เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา
ของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดํารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ในพื้นที่เป้าหมาย
บ้านหนองปรือหมู่ที่ 3 ตําบลทับราช อําเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นพื้นที่ในการศึกษา
เนื่องจากบ้านหนองปรือหมู่ที่ 3 นั้นมีทุนทางสังคมที่สามารถต่อยอดได้และเป็นพื้นที่ที่จะสามารถ
ดําเนินกิจกรรมในการแก้ปัญหาของชุม อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน และส่งผลให้สมาชิก
ในชุมชนสามารถดํารงอยู่ได้อย่าง มันคง มั่งค่งัและยังยืนต่อไปในอนาคต
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 09:46 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การเลี้ยงไหมอีรี่ (มัน ต่อ ยอด) หมู่ที่ 2 บ้านแสง์ ต.ทัพเสด็จ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ ภาครัฐ (รัฐบาล) ได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี
2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน
โดยค านึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) มาเป็นแนวทางในการด าเนินนโยบาย
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิต
ภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัย ด้านอาหาร
เพื่อน าไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) ทรงมี
พระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชน
ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี เป็นมหาวิทยาลัย
ที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
ราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
เสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัย
ราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ
การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้ง
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดปทุมธานี
ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและ
ภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถ
ดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความส าคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในบ้านแสง์ หมู่ที่ 2 ต าบลทัพเสด็จ อำเภอตาพระยา
จังหวัดสระแก้ว พบว่า เป็นหมู่บ้านห่างไกลความเจริญ ซึ่งติดชายแดนกับประเทศกัมพูชา สภาพทาง
เศรษฐกิจยังไม่ดีเท่าที่ควร ประสบปัญหาภัยแล้งต่อเนื่องเป็นประจำ ทำให้ขาดทุนจากการประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม เกิดเป็นหนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น และมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายใน
ครัวเรือน ถึงแม้ว่าจะมีหน่วยงานของภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุนเรื่องของอาชีพ เช่น โคบาลบูรพา,
การทำจักสาน, การสานพัด, ดอกไม้ประดิษฐ์, ต้นแสง์ประดิษฐ์, สบู่, นํ้ายาล้างจาน, นํ้ายาปรับผ้านุ่ม,
การทำปลาส้ม และหมอนฟักทอง เป็นต้น เพื่อจำหน่ายให้กับนักท่องเที่ยว เนื่องจากเป็นหมู่บ้าน
เชิงวัฒนธรรม และเป็นอาชีพเสริมแทนอาชีพหลัก หวังให้สมาชิกในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น แต่อย่างไร
ก็ตามการจัดทำของที่ระลึกขึ้นนั้นไม่ได้รับการตอบรับจากนักท่องเที่ยวมากพอ และไม่มีตลาดในการ
รองรับการจำหน่ายของสินค้า ทำให้เกิดการตกค้างของสินค้า และการหยุดชะงักของทุนในการ
หมุนเวียนการผลิต แต่ชุมชนแห่งนี้ยังมีแหล่งทุนที่มีศักยภาพ คือ เรื่องราวหมู่บ้านประวัติศาสตร์
แหล่งท่องเที่ยว (วัดทัพเสด็จ, พลับพลาที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9),
ภาษาท้องถิ่น, ต้นแสง์, ต้นกก, น้ าพริกกะสัง, พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังจ านวนมาก และความรู้จาก
การสืบทอดต่อมาของบรรพบุรุษ เช่น การจักสาน, การทอผ้า เป็นต้น ท าให้สมาชิกในชุมชนและ
ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีโครงการการเลี้ยงไหมอีรี่ เนื่องจากผู้นำ
ท้องที่และสมาชิกในชุมชน เห็นว่าภายในชุมชนส่วนใหญ่มีแต่ผู้สูงอายุ หากจะดำเนินการจัดทำ
โครงการน่าจะเป็นโครการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ มีต้นทุนของปัจจัยการผลิตที่ต่าง และให้ผลผลิต
มูลค่าที่สูง ซึ่งโครงการดังกล่าวตอบโจทย์สมาชิกในชุมชนมากที่สุด เนื่องจากการเลี้ยงไหมอีรี่ มีตลาด
รองรับทั้งภายในและภายนอกประเทศ เป็นที่ต้องการของอุตสาหกรรมทอผ้า มีพ่อค้าคนกลางรับซื้อ
ผลผลิต ประกอบกับทุนเดิมที่มีความสามารถในการทอผ้าจากการสืบทอดบรรพบุรุษ สามารถเลี้ยง
ประกอบอาชีพได้ทุกครัวเรือนไปพร้อมๆ กับการทำอาชีพหลักควบคู่กันไปได้และยังสามารถสร้าง
รายได้เทียบเท่ากับอาชีพหลักได้ และขั้นตอนดำเนินการง่าย รวมถึงสมาชิกในชุมชนประกอบอาชีพ
ปลูกมันสำปะหลังเป็นส่วนใหญ่ สามารถนำใบมันส าปะหลังมาเป็นอาหารให้กับไหมอีรี่ทำให้เกิด
ประโยชน์ได้อีกช่องทางหนึ่งด้วยโดยไม่ให้เสียประโยชน์ไปเปล่าๆ อีกทั้งจังหวัดสระแก้ว มีชุมชนที่
ดำเนินการครบวงจรสามารถเป็นต้นแบบประสบความสำเร็จสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ได้ โดยจะ
ดำเนินการจัดตั้งเป็นกลุ่มและมีครัวเรือนตนแบบในการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในการเพิ่ม
รายได้ให้คนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ และเป็นแบบอย่างสู่ครัวเรือนอื่นๆ ในชุมชน และอาจ
ขยายผลไปสู่การแปรรูปวัตถุดิบเพื่อการเพาะพันธุ์ไหมอีรี่ และจำหน่ายผลิตภัณฑ์เองในอนาคต
ดังนั้นข้าพเจ้าอาจารย์วราวุฒิ คำพานุช ตำแหน่ง อาจารย์ (นักพัฒนาท้องถิ่น) สังกัด
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์สระแก้ว จึงได้จัดทำโครงการสร้าง
เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น
สามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้
อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับ
การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่าเสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง
มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้าน
มีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 7 ม.ค. 2563 09:15 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนากลุ่มอาชีพจิ้งหรีด ดอกไม้จันทน์ และหนูนา หมู่ที่ 12 บ้านคลองยาง ต.ทัพราช อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว (ปี 2562)สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงเห็นความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎณ และทรงมอบพระบรมราโชบายด้านการศึกษาผ่านองคมนตรี ซึ่งมีใจความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่งทั่วประเทศว่าให้องคมนตรีแนะนำมหาวิทยาลัยราชภัฏ ให้ทำงานให้เข้าเป้าในการยกระดับการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นในท้องที่ตน ดังนั้นเพื่อเป็นการสนองพระบรมราโชบาย ทางกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎทั้ง 38 แห่ง จึงได้ร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์ใหม่ เพื่อพัฒนาท้องถิ่น 4 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านการพัฒนาท้องถิ่น 2.ด้านการผลิตและพัฒนาครู 3.ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา และ4.ด้านระบบริหารจัดการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนผลิตและพัฒนาครู ยกระดับคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎ ควบคู่ไปกับการพัฒนาท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ
ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบายระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ได้นำแนวทางดังกล่าวสู่กำหนดแนวทางการพัฒนาผ่านมายังนโยบายสภามหาวิทยาลัยฯ แปลงไปสู่ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต่างๆภายในมหาวิทยาลัยฯ โดยมีเป้าหมายสำคัญคือการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนในเชิงประจักษ์ ในพื้นที่ที่มหาวิทยาลัยรับผิดชอบคือจังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสระแก้ว
ด้วยเหตุนี้จึงเกิดโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติ เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ในพื้นที่เป้าหมายจังหวัดปทุมธานี จำนวน 27 หมู่บ้าน และจังหวัดสระแก้วจำนวน 25 หมู่บ้านเพื่อใช้เป็นชุมชนต้นแบบการพัฒนาอันจะนำไปสู่การขยายผลเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยได้ทำการกำหนดพื้นที่ และเสนอโครงการสำรวจบริบทชุมชนและจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่ หมู่ 12 บ้านคลองยาง ตำบลทัพราช อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว
learnoffice เมื่อ 6 ม.ค. 2563 15:35 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การเพาะเห็ดและการแปรรูปแหนมเห็ดนางฟ้า หมู่ที่ 2 โคกสมัคคี ต.หนองม่วง อ.โคกสูง จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560
ถึง ปี 2579 โดยน้อมน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลย
เดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ
รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร
พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
ประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่
10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการ ในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.
2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา
ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพ
เป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต
ของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้าง
เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและ
เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความส าคัญในการพัฒนาชุมชน และ
ท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของ
มหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาการบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมี
กระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน
และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำ
หน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการ
ออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่
เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้
สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงได้กำหนดแนวทางการทำงานที่มุ่งเน้นการ
ทำงานบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน ประสานงาน และดำเนินโครงการ
ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านงานบริการวิชาการ โดยในปี 2561 นี้
มหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย
ซึ่งดำเนินการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 27 หมู่บ้าน พื้นที่จังหวัดสระแก้ว 25 หมู่บ้าน การ
ดำเนินงานในระยะแรกเป็นการสำรวจข้อมูลชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชน
และสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนำไปสู่การ
แก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงจัดทำโครงการสร้าง
เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น
สามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้
อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับ
การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ
เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชน
หมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 6 ม.ค. 2563 14:55 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กระเป๋าเสื่อกก หมู่ที่ 6 โคกสมัคคี ต.หนองม่วง อ.โคกสูง จ.สระแก้ว (ปี 2562)ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (University Engagement) จากปรัชญาการ
สร้างปัญญาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทำงานของสถาบันการศึกษา
ร่วมกับภาคี ในพื้นที่ (Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่
ได้อย่างถูกต้อง โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่
พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ
พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลัง
ปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่
คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ
มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การ
พัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์
ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน
ท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนา
ชุมชน และท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อ
นโยบายของมหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมี
กระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน
และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำ
หน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการ
ออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่
เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้
สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงได้กำหนดแนวทางการทำงานที่มุ่งเน้นการ
ทำงานบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน ประสานงาน และดำเนินโครงการ
ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านงานบริการวิชาการ โดยในปี 2561 นี้
มหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย
ซึ่งดำเนินการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 27 หมู่บ้าน พื้นที่จังหวัดสระแก้ว 25 หมู่บ้าน จึงจัดทำ
โครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้
ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการ
ชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ร่วมกับการส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากใน
ชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว ได้มีส่วนในการ
รับผิดชอบ พื้นที่ บ้านโคกสามัคคี หมู่ที่ 6 ตำบลหนองม่วง อำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว โดยมี
อาจารย์นิตยา ทองทิพย์ เป็นผู้รับผิดชอบ การดำเนินงานในระยะแรกเป็นการสำรวจข้อมูลชุมชน
เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชนและสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา เพื่อให้สามารถ
แก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนำไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน
learnoffice เมื่อ 26 ธ.ค. 2562 11:59 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ผลิตภัณฑ์นํ้าพริก หมู่ที่ 13 ถาวรสามัคคี ต.หนองม่วง อ.โคกสูง จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560
ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลย
เดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ
รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร
พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
ประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่
10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการ ในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.
2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา
ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพ
เป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต
ของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้าง
เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและ
เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และ
ท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของ
มหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาการบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมี
กระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน
และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำ
หน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการ
ออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่
เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้
สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
ส านักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงได้ก าหนดแนวทางการท างานที่มุ่งเน้นการ
ท างานบริการวิชาการรับใช้สังคม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการท างาน ประสานงาน และด าเนินโครงการ
ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านงานบริการวิชาการ โดยในปี 2561 นี้
มหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย
ซึ่งดำเนินการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จ านวน 27 หมู่บ้าน พื้นที่จังหวัดสระแก้ว 25 หมู่บ้าน การ
ดำเนินงานในระยะแรกเป็นการสำรวจข้อมูลชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชน
และสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนำไปสู่การ
แก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงจัดทำโครงการสร้าง
เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น
สามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้
อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับ
การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ
เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชน
หมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 26 ธ.ค. 2562 11:14 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการ หมู่ที่ 10 ทับทิมสยาม 05 ต.คลองไก่เถื่อน อ.คลองหาด จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20
ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงาน
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิ
พลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระ วชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็น
มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้
มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
สู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและ
ยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ในประเด็น
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของ
ชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน
และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในหมู่ที่ 10 ตำบลคลองไก่เถื่อน อำเภอคลองหาด จังหวัด
สระแก้ว พบว่าชุมชนมีความเข้มแข็งในด้านอาชีพซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม และมีการจัดตั้งกลุ่ม
รัฐวิสาหกิจชุมชนปลูกพืชสมุนไพรส่งขายให้โรงพยาบาลวังนํ้าเย็น และโรงพยาบาลอภัยภูเบศร์ ชุมชนได้รับการ
สนับสนุนจากจังหวัดให้เป็นหนึ่งในชุมชนท่องเที่ยว โอทอปนวัตวิถี มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ การค้าชายแดน
(จุดผ่อนปรนเป็นตลาดสินค้าเกษตร) เกษตรอินทรีย์ (หน่อไม้ฝรั่ง) ในพื้นที่มีคุณภาพดินที่เหมาะแก่การ
เพาะปลูกพืชแทบทุกชนิด ชุมชนส่วนใหญ่เข้มแข็ง (เศรษฐกิจ, สังคม, กองทุน) มีความมั่นคงตามแนวชายแดน
และอีกมุมหนึ่ง ชุมชนมีกลุ่มวัยชรา ผู้พิการ หรือผู้ป่วยติดเตียง ซึ่งกลุ่มคนกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ควรได้รับการ
พัฒนาหรือยกระดับ ซึ่งส่วนใหญ่ครอบครัวมีฐานะยากจน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมจึงเล็งเห็นความสำคัญ
และเสนอการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ และชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้อง
ร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้พิการ หรือผู้ป่วยติดเตียง ด้วยการปรับสภาพ
พื้นที่ให้สามารถอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้นคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้
จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชน
ท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้
อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การ
พึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่
เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 26 ธ.ค. 2562 10:55 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กระเป๋าผ้าทอสานลาย หมู่ที่ 8 บ้านพรสวรรค์ ต.เขาฉกรรจ์ อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัย ด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอดเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญ ในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในระยะแรกอย่างเข้าใจ เข้าถึง วิถีชีวิตของประชาชน หรือเรียกอีกอย่างว่า “การเรียนรู้จากประสบการจริงในพื้นที่” (Action Learning) เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชนและสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา ณ พื้นที่บ้านพรสวรรค์ หมู่ 8 ตำบลเขาฉกรรจ์ อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว พบว่ามีปัญหาที่สำคัญปัญหาการต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และ การประชาสัมพันธ์ เนื่องจากประชาชนมีการรวมกลุ่มจัดทำผลิตภัณฑ์กระเป๋าและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆจากผ้าทอ เช่น กระเป๋าชนิดต่าง ๆ เสื้อ หมอน ผ้าถุง เป็นต้น ซึ่งรวมกลุ่มกันในนาม “กลุ่มสตรีบ้านพรสวรรค์” และปัญหาขาดการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัจจุบันกลุ่มคนรุ่นใหม่(ลูกหลาน)ในหมู่ต่างพากันไปเรียนหรือทำงานต่างถิ่นทำให้ไม่ค่อยมีคนรุ่นใหม่กลุ่มคนที่จะพร้อมเรียนรู้และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นอาศัยในหมู่บ้าน ดังนั้นจากการจัดประชุมผู้นำและตัวแทนของสมาชิกในหมู่บ้าน จึงได้มีแนวทางการต่อยอดผลิตภัณฑ์ และพัฒนา ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ซึ่งเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ โดยการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นกับภูมิปัญญาชาวบ้านมาสร้างเป็นจุดเด่นของชุมชน และมีแนวทางในการจัดจำหน่ายสินค้าผ่านทาง “กลุ่มสตรีบ้านพรสวรรค์” และกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนในชุมชน
ด้วยเหตุนี้ ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนาดังนี้ 1) โครงการพัฒนา ต่อยอด และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ(กระเป๋าผ้าทอสานลาย) 2) โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน เพื่อสร้างกิจกรรมทางการท่องเที่ยว (โดยใช้จุดแข็งของหมู่บ้านที่เป็นชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาและต่อยอดให้มั่งคง และยั่งยืน) โดยทางคณะทำงานได้ยึดแนวทางการทำงานหลักคือ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” 3 หัวใจหลักของวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตรทรงใช้เป็นวิธีการทรงงานมาตลอดรัชสมัย ทั้งยังนำไปสู่การตอบโจทย์ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี : เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ
ดังนั้นคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่ การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
Chawalit_Kor เมื่อ 23 ธ.ค. 2562 03:14 น.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปลูกป่าเศรษฐกิจพิชิตหมอกควันที่ อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ (ปี 2562)การฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้หรือการสร้างสวนไม้ผลยืนต้นจากพื้นที่โล่งแจ้งที่ดินอยู่ในภาวะเสื่อมสภาพให้กลับไปเป็นพื้นที่สีเขียว เป็นกระบวนการย้อนกลับของการทำลายป่า ซึ่งต้องใช้ต้นทุน ระยะเวลา และทักษะการจัดการมากกว่าตองถางป่า กระบวนการสร้างพื้นที่สีเขียวนี้ต้องใช้ความรู้และทักษะของผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์และถ่ายทอดความรู้นั้นสู่เกษตรกร สำหรับการดำเนินงานของโครงการนี้ ใช้กล้วยน้ำว้าปลูกเป็นไม้พี่เลี้ยงหรือไม้เบิกนำในปีที่ 1 จากนั้นจะปลูกไม้ผลยืนต้น 1 ชนิด และปลูกกาแฟอราบิก้าลงในพื้นที่เดียวกัน พื้นที่นี้จะยังใช้ปลูกพืชล้มลุกได้ 1-2 ปี จนกว่าทรงพุ่มของไม้ยืนต้นเต็มพื้นที่
learnoffice เมื่อ 17 ธ.ค. 2562 16:15 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนาผ้ามัดย้อม บ้านหนองโกวิทย์ หมู่ที่ 7 ตำบลเขาสามสิบ อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว (ปี 2562)มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชนท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมาย บ้านหนองโกวิทย์ หมู่ 7 ตำบลเขาสามสิบ อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว พบว่า ครัวเรือนเป้าหมายมีปัญหาการประกอบอาชีพจากปัญหาด้านสุขภาพ อันเกิดจากการนั่งทอผ้าเป็นระยะเวลานาน ๆ ติดต่อกัน ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพเช่น การกดทับกล้ามเนื้อ ปวดเมื่อยร่างกาย ปวดหลัง เป็นปัญหาสุขภาพ ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการทอผ้าที่ต้องใช้ระยะเวลาในการทอผ้านานขึ้น ทำให้ปริมาณผ้าที่ทอได้ลดลง ส่งผลกระทบต่อรายได้ลดลง ชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อม เพื่อจำหน่ายและสร้างรายได้อีกหนึ่งแนวทางเพื่อทดแทนรายได้ที่ลดลงจากการทอผ้า และส่งเสริมเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าของชุมชนอีกชนิดหนึ่งต่อไปในอนาคต
เพื่อเป็นการแก้ไขและตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ที่จะส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 17 ธ.ค. 2562 14:48 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื่อกก หมู่ที่ 3 คลองสามสิบ ต.เขาสามสิบ อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตร และสหกรณ์ 20 ปีระหว่างปี 2560 ถึงปี2579
โดยน้อมนeเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคeนึงถึงสิ่งแวดล้อม
ที่อยู่ และทรงใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถ
บพิตร มาเป็นแนวทางในการดeเนินนโยบายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของ
ประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนา
โภชนาการ และความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชน
และประเทศชาติซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมี
พระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้
มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ
2547 มาตรา7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา
ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลับราชภัฏ
สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ
มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็ง และยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากโครงการพระราชดำริ
โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายใน และภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษา และ
แก้ไขปัญหาของชุมชน และท้องถิ่น และเสริมพลังให้ชุมชน และท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน
ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชน และครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายในชุมชนบ้านคลองสิบสาม หมู่ที่ 3 ตำบล
เขาสามสิบ อำเภอเขาฉกรรจ์จังหวัดสระแก้ว พบว่า ชุมชนมีความโดดเด่นด้านประเพณีบายศรีสู่ขวัญ
ข้าว ผลิตภัณฑ์ OTOP นวัตวิถี (เสื่อกก) ส่วนปัญหาที่สำคัญ พบว่า คนในชุมชนวัยอายุ 50 ปีขึ้นไป
จำนวนมากว่างงาน และชุมชน ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย มีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการ
พัฒนาต่อยอดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP นวัตวิถี (เสื่อกก) เพื่อเพิ่มรายได้ครัวเรือน
ดังนั้น งานวิชาการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น
และเสริมพลังในชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตของตนเองได้อย่างสมดุล และมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่า และมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานล่างในชุมชนให้มีความเข็มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้
อย่างยั่งยืน ส่งเสริมให้ชุมชน หมู่บ้านมีคุณภาพชีวิต และรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 17 ธ.ค. 2562 13:18 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์แชมพูสมุนไพร ชุมชนนวนครวิลล่า-แฟลต หมู่ที่ 13 ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่าง
ปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน
โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา
เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ
พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎ
สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในชุมชนนวนครวิลล่า-แฟลต พบว่า ลักษณะชุมชนเป็นชุมชนเมือง ลักษณะที่พักอาศัยเป็นตึกแถวและอาคารหอพัก สมาชิกในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง พนักงานโรงงานอุตสาหกรรมและค้าขาย ประชากรอพยพมาจากแหล่งอื่นเพื่อมาประกอบอาชีพ เมื่อการทำงานสิ้นสุดลงมักจะย้ายกลับภูมิลำเนาเดิมของตนเอง ดังนั้นจึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและจำนวนประชากรจึงไม่คงที่ และชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนาอาชีพให้กับชุมชน โดยเน้นการรวมกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์และจัดจำหน่าย บริหารจัดกล่าวกลุ่มโดยสมาชิกที่เข้ามาร่วม เพื่อส่งเสริม พัฒนาอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่สนใจ ซึ่งสามารถทำเป็นอาชีพรองได้ และทำให้ชุมชนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ลักษณะของอาชีพเน้นอาชีพที่สามารถขยายต่อยอดไปสู่ระดับสากลและใช้วัตถุดิบที่ชุมชนสามารถร่วมผลิตได้ ซึ่งครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และความสามารถเกี่ยวกับการผลิตแชมพูสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมความงามต่าง ๆ โดยต้องการขยายผลสู่ชุมชนและระดับสากลมากขึ้น
ดังนั้นหลักสูตรนวัตกรรมดิจิทัลและวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและ
มีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้าน
มีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 17 ธ.ค. 2562 10:07 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ผักปลอดสารพิษ ชุมชนพืชนิมิต ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579
โดยน้อมน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
ที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร
มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไข
ปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความ
ปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ
ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่
ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา
ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.
2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา
ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพ
เป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต
ของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการ
สร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น
และเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และ
ท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในชุมชนวัดพืชนิมิต อ.คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
พบว่า เป็นชุมชนเมือง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ส่วน
อาชีพด้านการเกษตรกรรมมีเพียงเล็กน้อย จึงไม่มีการรวมกลุ่มกันเพื่อประกอบอาชีพ จากการสำรวจ
แบบสอบถามในชุมชนพบว่ามี 1 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพท าสวนมะพร้าว และนาบัว และครัวเรือน
เป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนาสวนมะพร้าว ปรับปรุงดิน เพื่อเพิ่มผลผลิต
และท าเต้าฮวยมะพร้าวอ่อน
ดังนั้นคณะเทคโนโลยีการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์จึง
ได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริม
พลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหาร
จัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน
ให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผล
ให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 17 ธ.ค. 2562 09:09 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจชุมชน (ของชำร่วย) หมู่ 14 ชุมชนหมู่ 15 สามัคคี ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์
ชาติ20 ปีของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์20 ปีระหว่างปี2560 ถึง ปี2579 โดย
น้อมนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยค านึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่
และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็น
แนวทางในการดาเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหา
เชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัย
ด้านอาหารเพื่อนาไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อ
โครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์
ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7
ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่ง
สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้น
การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น
และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
อลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอด
เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจาก
ภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น
สามารถดารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความส าคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลส ารวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมาย เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชนและสิ่งที่
ชุมชนต้องการรับการพัฒนา ณ ชุมชนหมู่ 15 สามัคคี ต าบลท่าโขล อ าเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
พบว่าเป็นพื้นที่ในลักษณะของชุมชนเมืองที่ประชากรส่วนใหญ่ท างานประจ า และมีความต้องการเสริม
ทักษะอาชีพเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและแก้ปัญหาของชุมชนอย่างตรงจุดจนสามารถนาไปสู่การ
แก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน และชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มี
การเสริมทักษะอาชีพการในการผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจชุมชนของช าร่วย ได้แก่ ยาหม่อง พิมเสน น้ ามัน
ไพล น้ ามันเหลือง ดอกไม้จันทน์และผลิตภัณฑ์สุขภาพและครัวเรือน ได้แก่ สเปรย์ตะไคร้หอม น้ ายาล้าง
จาน สบู่เหลว
ดังนั้นส านักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมรา
ชูปถัมถ์จึงได้จัดทาโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น
2
เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถ
บริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถด ารงชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากใน
ชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นาไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 16 ธ.ค. 2562 14:33 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์จากฟาร์มเห็ด สู่ฟาร์มสุข ชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีน หมู่ 14 ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (ปี 2562)มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏ สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 คือ การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอดเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน
จากผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในชุมชนวัดคุณหญิงส้มจีน พบว่า ครัวเรือนเป้าหมายมีความต้องการทำการเกษตรในพื้นที่จำกัด เพื่อนำผลผลิตที่ได้มาบริโภคภายในครัวเรือน ถือเป็นการลดรายจ่ายและสามารถนำไปขายเพื่อสร้างรายได้ให้เพียงพอต่อสมาชิกทุกคนในครัวเรือนและชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการเพาะเห็ดชนิดต่าง ๆ ดังนั้น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม
learnoffice เมื่อ 16 ธ.ค. 2562 14:04 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์พวงมาลัยประดิษฐ์ หมู่ที่ 13 ชุมชนเคหะชุมชนคลองหลวง ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในเคหะชุมชนคลองหลวง เทศบาลเมืองท่าโขลง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานีพบว่าในสภาพปัจจุบันเคหะชุมชนคลองหลวงเป็นชุมชนเมืองที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีสาธารณูปโภคเกิดขึ้นมากมาย เช่น ร้านค้า ห้างหุ้นส่วน ตลาดค้าปลีกย่อย เกิดธุรกิจการค้ามากมาย ทำให้ชุมชนมีสภาพคล่องทางการเงินสูงและทำให้ค่าครองชีพสูงตามขึ้นไปด้วย ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประจำ คือ พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม มีเงินเดือนประจำ สามารถเลี้ยงตัวเองได้ แต่มีประชากรบางครัวเรือนประกอบอาชีพรับจ้าง งานบริการทั่วไป และบางครอบครัวเป็นครอบครัวใหญ่รายได้จึงไม่เพียงพอ ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนมีหลายด้าน เช่น ปัญหาด้านขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ปัญหาด้านเสียงดังจากแหล่งสถานบันเทิง ปัญหาด้านความแออัดในชุมชน ปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน และที่สำคัญปัญหาเรื่องรายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายในครัวเรือน อาจต้องไปหยิบยืมเงินจากเพื่อนบ้านหรือหนี้นอกระบบทำให้เกิดปัญหาหนี้สินตามมา จากปัญหาดังกล่าวทำให้ชุมชนครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ โดยการทำพวงมาลัยดอกไม้ประดิษฐ์ ส่งขายตลาดหรือร้านค้าทั่วไป ซึ่งการทำพวงมาลัยประดิษฐ์เป็นอาชีพ เนื่องจากวัสดุ อุปกรณ์ หาซื้อได้ง่าย และสามารถเก็บไว้ได้เป็นเวลานาน เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือนและชุมชนให้พึงพาตัวเองได้อย่างยั่งยืน นอกนี้ผู้สูงอายุยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อีกด้วย
ดังนั้นหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 16 ธ.ค. 2562 10:43 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์โครงการพันธกิจสัมพันธ์ แก้ปัญหาความยากจน และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท หมู่ที่ 12 ชุมชนโรงเรียนวัดคุณหญิงส้มจีน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (University Engagement) จากปรัชญาการสร้างปัญญาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทำงานของสถาบันการศึกษาร่วมกับภาคี ในพื้นที่ (Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่ได้อย่างถูกต้อง และแม่นยำมากขึ้น พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วนทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเองและระดับมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นตามหลักพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม โดยให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาของชุมชน ท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ ซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับแนวปฏิบัติที่ดี ที่เป็นศักยภาพของชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกชุมชนได้ ดังนั้นการสำรวจความต้องการและศึกษาบริบทของชุมชนโรงเรียนวัดคุณหญิงส้มจีน อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของโครงการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน จังหวัดปทุมธานี ที่หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการตามแผนงานพัฒนาพันธกิจสัมพันธ์
learnoffice เมื่อ 16 ธ.ค. 2562 09:48 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ซาลาเปาหลากไส้ และวุ้นมะพร้าวหลากรสชาติ หมู่ที่ 8 ชุมชนหมู่บ้านนครชัยมงคลวิลล่า ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ด้วยแนวคิดพันธกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (university engagement) จากปรัชญาการ
สร้างปัญญาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทํางานของสถาบันการศึกษา
ร่วมกับภาคีในพื้นที่ (engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่ตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่ได้
อย่างถูกต้องและแม่นยํามากขึ้น พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วน
ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเอง และระดับมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรายภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้
ตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามหลักพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม
โดยให้ความสําคัญกับการแก้ปัญหาชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับแนวปฏิบัติที่
ดีเป็นศักยภาพชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกชุมชนได้
ดังนั้น ในระยะที่ 1 จะทําการสํารวจความต้องการและศึกษาบริบทชุมชน หมู่ 13 หมู้บ้านนครชัย
มงคลวิลล่า เทศบาลตําบลท่าโขลง อําเภอคลองหลาง จังหวัดปทุมธานี เพื่อทราบบริบทชุมชน สภาพ
ปัญหาและความจําเป็นในการยกระดับคุณภาพชีวิต ซึ่งจะได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือครัวเรือน
เป้าหมายเพื่อสร้างเสริมทักษะด้านผลิตภัณฑ์ พัฒนาอาชีพ และเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนเป้าหมายใน
ระยะที่ 2
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 14:56 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การผลิตนํ้ายาอเนกประสงค์ การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ และการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย หมู่ที่ 13 ชุมชนนวนครหน้าเมือง ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี (ปี 2562)พื้นที่ชุมชนนวนครหน้าเมือง หมู่ที่ 13 ตำบลเทศบาลท่าโขลง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี คือหนึ่งในพื้นที่ที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งยังไม่มีการพัฒนาฐานข้อมูลชุมชนในรูปแบบของรายงาน (Graphic Report) หรือภาพนิ่ง (Infographics) เผยแพร่ให้แก่บุคคลหรือองค์กรที่สนใจ ซึ่งการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนเป็นกระบวนการตั้งแต่วางแผนการค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล จนถึงการจัดนำเสนอข้อมูล โดยประสานงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลท่าโขลง ซึ่งขั้นตอนการดำเนินงานโดยสรุปมีดังนี้ 1) วางแผนการเก็บข้อมูลและแบ่งกลุ่มผู้รับผิดชอบข้อมูลในแต่ละหัวข้อ 2) ดำเนินการรวบรวมข้อมูล 3) วิเคราะห์ข้อมูล 4) จัดทำรูปเล่มสรุป และ 5) มอบหนังสือฐานข้อมูลชุมชนแก่องค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อเผยแพร่ข้อมูลต่อไป โดยพื้นที่ชุมชนนวนครหน้าเมือง หมู่ที่ 13 ตำบลเทศบาลท่าโขลง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้นประมาณ 300 ครัวเรือน ซึ่งตั้งอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่าโขลง
กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนเป็นกิจกรรมที่นำองค์ความรู้ทุกสาขาวิชาในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาบูรณาการร่วมกันเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลชุมชน โดยข้อมูลที่ได้สามารถนำมาวิเคราะห์ในด้านต่างๆ ได้หลากหลายมิติดังนี้ 1) สภาพทั่วไปด้านกายภาพ เช่น การใช้ประโยชน์จากที่ดิน การคมนาคม แหล่งน้ำ 2) สภาพทั่วไปด้านสังคม เช่น ประชากร วัฒนธรรม ประเพณี ผลิตภัณฑ์ชุมชน 3) สภาพทั่วไปทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อาชีพและรายได้ของประชากร 4) สภาพทั่วไปด้านสุขภาพ เช่น สุขภาพของประชากรในชุมชน การเจ็บป่วย พฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ 5) สภาพทั่วไปด้านการเมืองการปกครอง เช่น การมีส่วนร่วมในระบบประชาธิปไตย หน่วยงานที่ปกครองดูแล ช่องทางการสื่อสารในชุมชน 6) สภาพทั่วไปด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหาสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะและน้ำเสีย การไฟฟ้าและประปา ภัยพิบัติ 7) สภาพทั่วไปด้านการศึกษา เช่น อัตราการเข้าเรียนของประชากรวัยเรียน การฝึกอบรมวิชาชีพ เป็นต้น ซึ่งจะก่อให้เกิดการพัฒนากระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติผ่านการทำงานร่วมกับชุมชน นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้จากงานสร้างสรรค์ วิจัย นวัตกรรม ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับชุมชนได้ ยังเป็นการฝึกให้นักศึกษามีจิตอาสา ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง เสริมทักษะด้านในบริการวิชาการทองถิ่น และเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้แก่นักศึกษา นอกจากนี้ กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลชุมชนยังสอดคล้องกับโครงการในระดับมหาวิทยาลัย คือ โครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อรว่มกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังใช้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้ ซึ่งข้อมูลที่ได้สามารถนำมาคัดเลือกชุมชนสำคัญเพื่อใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น การสร้างเครือข่ายร่วมกับท้องถิ่น และการทำกิจกรรมพันธกิจสัมพันธ์ต่อไป
ดังนั้น หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงจัดทำกิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่ชุมชนนวนครหน้าเมือง หมู่ที่ 13 ตำบลเทศบาลท่าโขลง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เพื่อเป็นแนวทางนำร่องก่อนที่จะวางแผนพัฒนาฐานข้อมูลชุมชนต่อไป โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิหรือข้อมูลที่มีอยู่แล้วเกี่ยวกับชุมชนที่มีหน่วยงานอื่นได้ทำการสำรวจไว้เบื้องต้นหรือข้อมูลจากองค์การบริหารส่วนตำบลท่าโขลงได้เก็บข้อมูลไว้ และจะทำการเก็บข้อมูลปฐมภูมิโดยการสัมภาษณ์ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ชาวบ้านในพื้นที่ชุมชนนวนครหน้าเมือง โดยกิจกรรมในครั้งนี้จะนำเสนอข้อมูลในประเด็นสภาพทั่วไปของพื้นที่ ทั้ง 7 ด้าน ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น ซึ่งในอนาคตหนังสือ (Graphic Report) หรือภาพนิ่ง (Infographics) นี้สามารถนำมาใช้เพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชน ส่งเสริมการตลาดเพื่อให้เกิดการเข้าถึงสินค้าที่ชุมชนผลิตขึ้นมา และสามารถวางแผนแก้ไขปัญหาชุมชนได้ต่อไป
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 14:20 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยกรอบ นํ้าพริกนรก หมู่ที่ 6 คลองหน้าไม้ ต.หน้าไม้ อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 13:54 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์น้ำหมักชีวภาพและสบู่ล้างมือจากสารสกัดข้าว หมู่ที่ 10 คลองถ่ำตะบัน ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 13:11 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กลุ่มพัฒนาเห็ด หมู่ที่ 8 คลองถ่ำตะบัน ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 12:31 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เกษตรอินทรีย์ เมี่ยงคำ และผลิตภัณฑ์สมุนไพร กลุ่มระแหงพอเพียง หมู่ที่ 6 คลองระแหง ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๗ ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาบริการวิชาการ การเรียน การสอน และการวิจัย โดยมีกระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่ เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
นอกจากนี้ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (University Engagement) จากปรัชญาการสร้างปัญญาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทำงานของสถาบันการศึกษาร่วมกับภาคีในพื้นที่ (Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำมากขึ้น พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วนทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเองและระดับมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามหลักพันธกิจสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยกับสังคม โดยให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ ซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับแนวปฏิบัติที่ดีที่เป็นศักยภาพของชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกชุมชนได้
การบริการวิชาการแก่สังคมถือเป็นหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นการทำงานเชิงวิชาการร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมในพันธกิจหลักทุกด้านของมหาวิทยาลัยบน หลักการพื้นฐาน 4 ประการ ได้แก่ 1) ร่วมคิดร่วมทำแบบหุ้นส่วน (Partnership) 2) เกิดประโยชน์ร่วมกัน แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (Mutual benefit) 3) มีการใช้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) และ 4) เกิดผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้ (Social impact) โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้นและสร้าง Engaged Citizens ซึ่งรวมถึงนักศึกษา บัณฑิต และบุคลากรของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้สังคม หมายรวมถึง กลุ่มบุคคล ที่อาจเชื่อมโยงกับชุมชนทั้งในมิติของพื้นที่ ความสนใจร่วมกัน อัตลักษณ์ สถานที่ทำงาน ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกันทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ หรืออยู่ในภาคส่วนเดียวกัน ชุมชน นักปฏิบัติ ชุมชนที่มีความสนใจร่วมกัน โดยไม่มีข้อจำกัดทั้งในเชิงพื้นที่ ภูมิภาค และประเทศ รวมถึงภาคธุรกิจอุตสาหกรรมสมาคมวิชาชีพ โรงเรียน รัฐบาล ศิษย์เก่า และชุมชนพื้นเมือง เป็นต้น
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 11:07 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กล้วยฉาบชุมชนระแหง หมู่ที่ 5 คลองโยธา ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๗ ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาบริการวิชาการ การเรียน การสอน และการวิจัย โดยมีกระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน และสังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการออกแบบการทำงานเพื่อสร้างกลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่ เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับองค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อสังคม
นอกจากนี้ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (University Engagement) จากปรัชญาการสร้างปัญญาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทำงานของสถาบันการศึกษาร่วมกับภาคีในพื้นที่ (Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำมากขึ้น พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วนทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเองและระดับมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามหลักพันธกิจสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยกับสังคม โดยให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ ซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับแนวปฏิบัติที่ดีที่เป็นศักยภาพของชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกชุมชนได้
การบริการวิชาการแก่สังคมถือเป็นหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นการทำงานเชิงวิชาการร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมในพันธกิจหลักทุกด้านของมหาวิทยาลัยบน หลักการพื้นฐาน 4 ประการ ได้แก่ 1) ร่วมคิดร่วมทำแบบหุ้นส่วน (Partnership) 2) เกิดประโยชน์ร่วมกัน แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (Mutual benefit) 3) มีการใช้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) และ 4) เกิดผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้ (Social impact) โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้นและสร้าง Engaged Citizens ซึ่งรวมถึงนักศึกษา บัณฑิต และบุคลากรของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้สังคม หมายรวมถึง กลุ่มบุคคล ที่อาจเชื่อมโยงกับชุมชนทั้งในมิติของพื้นที่ ความสนใจร่วมกัน อัตลักษณ์ สถานที่ทำงาน ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกันทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ หรืออยู่ในภาคส่วนเดียวกัน ชุมชน นักปฏิบัติ ชุมชนที่มีความสนใจร่วมกัน โดยไม่มีข้อจำกัดทั้งในเชิงพื้นที่ ภูมิภาค และประเทศ รวมถึงภาคธุรกิจอุตสาหกรรมสมาคมวิชาชีพ โรงเรียน รัฐบาล ศิษย์เก่า และชุมชนพื้นเมือง เป็นต้น
ดังนั้นการสำรวจความต้องการและศึกษาบริบทของหมู่บ้านระแหง หมู่ 5 ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมและพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์สนับสนุนการพัฒนาประชารัฐที่มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ดำเนินการตามแผนงานงานวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานเครือข่ายร่วมมือในประเทศเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนางานตามภารกิจ ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 วิจัย บริการวิชาการ อนุรักษ์ ส่งเสริม พัฒนาศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และเพื่อเป็นการขับเคลื่อนงานวิชาการรับใช้สังคมตามแนวทางปฏิบัติบนหลักการพื้นฐานของพันธกิจเพื่อสังคม จึงต้องดำเนินการสำรวจความต้องการของชุมชนเพื่อให้ทราบถึงความต้องการโดยแท้จริงของชุมชนและต่อยอดไปสู่การดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์ต่อไป
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 10:40 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การผลิตปลาร้าผง ปลาร้าก้อน ปลาร้าทรงเครื่องและนํ้าปลาร้า (กลุ่มระแหงนัวร์ ) หมู่ที่ 4 ระแหง ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (University Engagement) จากปรัชญาการสร้างปัญญา
เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทำงานของสถาบันการศึกษาร่วมกับภาคีในพื้นที่
(Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำมากขึ้น
พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วนทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเองและระดับ
มหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้
ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามหลักพันธกิจสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยกับสังคม โดยให้
ความสำคัญกับการแก้ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ ซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการ
เรียนรู้ของชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับแนวปฏิบัติที่ดีที่เป็นศักยภาพของชุมชน เพื่อให้
ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกชุมชนได้
การบริการวิชาการแก่สังคมถือเป็นหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นการทำงานเชิงวิชาการ
ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมในพันธกิจหลักทุกด้านของมหาวิทยาลัยบน หลักการพื้นฐาน 4 ประการ
ได้แก่ 1) ร่วมคิดร่วมทำแบบหุ้นส่วน (Partnership) 2) เกิดประโยชน์ร่วมกัน แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (Mutual
benefit) 3) มีการใช้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) และ 4) เกิดผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้
(Social impact) โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้นและสร้าง Engaged Citizens
ซึ่งรวมถึงนักศึกษา บัณฑิต และบุคลากรของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้สังคม หมายรวมถึง กลุ่มบุคคล ที่อาจเชื่อมโยงกับ
ชุมชนทั้งในมิติของพื้นที่ ความสนใจร่วมกัน อัตลักษณ์ สถานที่ทำงาน ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกันทั้งที่เป็นทางการและ
ไม่เป็นทางการ หรืออยู่ในภาคส่วนเดียวกัน ชุมชน นักปฏิบัติ ชุมชนที่มีความสนใจร่วมกัน โดยไม่มีข้อจำกัดทั้งใน
เชิงพื้นที่ ภูมิภาค และประเทศ รวมถึงภาคธุรกิจอุตสาหกรรมสมาคมวิชาชีพ โรงเรียน รัฐบาล ศิษย์เก่า และชุมชน
พื้นเมือง เป็นต้น
ดังนั้นการสำรวจความต้องการและศึกษาบริบทของหมู่บ้านระแหง หมู่ 4 ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุม
แก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมและพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์สนับสนุนการ
พัฒนาประชารัฐที่มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ดำเนินการตามแผนงานงานวิจัย
บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปฯ งานเครือข่ายร่วมมือในประเทศเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนางานตามภารกิจ ซึ่ง
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 วิจัย บริการวิชาการ อนุรักษ์ ส่งเสริม พัฒนาศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และเพื่อ
เป็นการขับเคลื่อนงานวิชาการรับใช้สังคมตามแนวทางปฏิบัติบนหลักการพื้นฐานของพันธกิจเพื่อสังคม จึงต้อง
ดำเนินการสำรวจความต้องการของชุมชนเพื่อให้ทราบถึงความต้องการโดยแท้จริงของชุมชนและต่อยอดไปสู่การ
ดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์ต่อไป
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 09:49 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ทางเดินหินนวดเท้าเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 3 ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (University Engagement) จากปรัชญาการสร้างปัญญาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทางานของสถาบันการศึกษาร่วมกับภาคีในพื้นที่ (Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยามากขึ้น พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วนทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเองและระดับมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามหลักพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม โดยให้ความสาคัญกับการแก้ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ ซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับแนวปฏิบัติที่ดีที่เป็นศักยภาพของชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกชุมชนได้
learnoffice เมื่อ 13 ธ.ค. 2562 09:12 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ยกระดับคุณภาพชีวิตและลดความเสี่ยงของผู้สูงอายุที่อยู่ลำพัง หมู่ที่ 1 บ่อน้ำเชี่ยว ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม (University Engagement) จากปรัชญาการสร้างปัญญา
เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทำงานของสถาบันการศึกษาร่วมกับภาคีในพื้นที่
(Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคมเฉพาะที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำมาก
ขึ้น พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วนทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเอง
และระดับมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราช
ภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามหลักพันธกิจ
สัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม โดยให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ ซึ่ง
มหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับ
แนวปฏิบัติที่ดีที่เป็นศักยภาพของชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
ชุมชนได้
ดังนั้นการสำรวจความต้องการและศึกษาบริบทของชุมชนหมู่ 1 ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว
จังหวัดปทุมธานี เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของ โครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไข
ปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น สามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนที่คณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ดำเนินการตามแผนงานพัฒนางาน
พันธกิจสัมพันธ์ผลผลิต : ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอดเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 15:08 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์นํ้าพริกเผารวมใจ หมู่ที่ 8 บ้านคูขวางไทย ต.คูบางหลวง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่สภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้มีนโยบายในการพัฒนาท้องถิ่นใน
เชิงประจักษ์ พ.ศ 2562-2564 ตรงกับยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอดเผยแพร่
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ และเป้าหระสงค์ที่ 3 ประชาชนสามารถดำรงชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจชุมชน
เข้มแข็ง ประชาชนมีความสุขและมีรายได้เพิ่มขึ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้
ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยดำเนินโครงการพันธกิจ
สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานีและสระแก้ว ซึ่งเป็นพื้นที่ที่
มหาวิทยาลัยรับผิดชอบ สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการจึงได้จัดทำโครงการที่สร้างเครือข่ายชุมชนนัก
ปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษา สำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้าน แก้ไขปัญหาชุมชนท้องถิ่น และยกระดับ
คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน จำนวน 52 หมู่บ้าน แบ่งเป็นจังหวัดปทุมธานี 27 หมู่บ้าน และจังหวัดสระแก้ว 25
หมู่บ้าน ซึ่งคณะสาธารณสุขศาสตร์ ได้มอบหมายให้รับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน แบ่งเป็นจังหวัดปทุมธานี 2 หมู่บ้าน
และจังหวัดสระแก้ว 2 หมู่บ้าน คณะกรรมการด ำเนินงานได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดำเนินโครงการในพื้นที่หมู่
ที่ 8 บ้านคูขวางไทย ซึ่งอยู่ในเขตตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เพื่อสร้างเครือข่าย
นักพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชนท้องถิ่น สำรวจข้อมูล จัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้าน และแก้ไขปัญหาของชุมชน
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 14:22 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กาละแมโบราณ หมู่ที่ 7 คลองบางหลวง ต.คูบางหลวง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอดเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ผลสำรวจชุมชนและครัวเรือนเป้าหมายในหมู่ที่ 7 ตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี พบว่าในชุมชนมีสภาพปัญหา ดังนี้ 1) มีการรวมกลุ่มสัมมาชีพผลิตกาละแมเพื่อขายสร้างรายได้แก่สมาชิกกลุ่ม แต่มีข้อจำกัดในเรื่องของอายุการวางจำหน่ายและระบบคุณภาพมาตรฐาน 2) มีปัญหาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยและผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงที่บ้าน และ 3) มีครัวเรือนเป้าหมายที่มีปัญหาที่อยู่อาศัยเสื่อมโทรม ไม่ถูกสุขลักษณะ สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมจะเป็นที่พักอาศัย ทั้งนี้ ชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนาการผลิตกาละแม โดยการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ และพัฒนากระบวนการผลิตตามมาตรฐาน พัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) และปรับปรุงสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบ้านพักอาศัยของครัวเรือนเป้าหมาย
ดังนั้น คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 13:38 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์นํ้าพริกเผาไข่เค็ม หมู่ที่ 6 ตําบลคูบางหลวง อําเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร(ชาติ
20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร(เกษตรและสหกรณ( 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อม
นําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคํานึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้
หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการ
ดําเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิต
ภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนําไปสู่
ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการ ในพระราชดําริของพระ
ราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้
เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7ที่ระบุ
ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับ
แผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ
บัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็ง
และยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษา
แก้ไขปัญหาของชุมชนทองถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดํารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสําคัญใน
การพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น มีกลไกสนับสนุนการปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการเพื่อท้องถิ่นตอบสนองต่อ
นโยบายของมหาวิทยาลัยซึ่งมุ่งเน้นการบูรณาบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย โดยมี
กระบวนการ/วิธีการ มีนโยบายสนับสนุน มีองค์ความรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชุมชน และ
สังคม ซึ่งเป็นศักยภาพของมหาวิทยาลัยในการที่จะก้าวไปสู0มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม ทําหน้าที่ส่งเสริมและ
สนับสนุนด้านวิชาการให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืน โดยการออกแบบการทํางานเพื่อสร้าง
กลไกเชิงระบบที่เชื่อมงานประกันคุณภาพองค์กรกับการพัฒนาพื้นที่เพื่อให้มีการสานพลังจากทุกคณะร่วมกับ
องค์กรภาคี มีการยกระดับคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม และเกิดการพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพ
งานวิชาการเพื่อสังคม
สํานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงได้กําหนดแนวทางการทํางานที่มุ่งเน้นการทํางาน
บริการวิชาการรับใช้สังคม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทํางานประสานงาน และดําเนินโครงการตามนโยบายของ
มหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดำานงานบริการวิชาการโดยในปี 2561 นี้ มหาวิทยาลัยได้ดําเนินงานด้าน
พันธกิจสัมพันธ(เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัด
สระแก้ว โดยความร่วมมือกันของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย ซึ่งดําเนินการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จํานวน
27 หมู่บ้าน พื้นที่จังหวัดสระแก้ว 25 หมู่บ้าน ของสํานักส่งเสริมการเรียนรู้ฯ รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
จํานวน 6 หมู่บ้าน การดําเนินงานในระยะแรกเป็นการสํารวจข้อมูลชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาพปัญหาที่แท้จริง
ของชุมชนและสิ่งที่ชุมชนต้องการรับการพัฒนา เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนําไปสู่การ
แก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน สํานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงจัดทําโครงการสร้าง
เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถ
ดํารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมี
ความเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญา
ท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นําไปสู่การพึ่งพา
ตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 13:06 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์นํ้าพริกปลาป่น บ้านคลองบางโพธิ์ หมู่ที่ 5 ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (ปี 2562)มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับ
แผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศโดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ
มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข็มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่าย
ชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปลาดุกคลองบางโพธิ์ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี มีสมาชิกภายในกลุ่มจำนวน 20 คนการก่อตั้งกลุ่มนี้เกิดจาก บริบทของชุมชนแห่งนี้เป็นพื้นที่ที่ประชาชนมีการเลี้ยงปลาเป็นจำนวนมาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้มีการจำหน่ายปลาสดเป็นกิจกรรมหลัก ต่อมาภายในกลุ่มได่มีความคิดริเริ่ม แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ คือ น้ำพริกปลาป่น แต่ยังขาดการพัฒนาในด้านของการออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ จึงทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในช่วงแรก ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด
รวมทั้งปัญหาที่สำคัญคือ เกิดการหลุดร่วงของผลิตภัณฑ์ในระหว่างขนส่ง และอายุการเก็บรักษา ซึ่งมีพลังงานอย่างน้อย 3 อย่างที่ทำให้ผลิตภัณฑ์เกิดความเน่าเสีย ได้แก่ แสง ความร้อน และจุลินทรีย์
การออกแบบตราสินค้าถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในด้านการทำการตลาดให้กับสินค้า เพราะฉะนั้นเพื่อให้ผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้น ชุมชนจึงมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องการจัดให้มีการออกแบบ เพื่อผลิตตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์น้ำพริกปลาป่นจึงได้บอกถึงความต้องการเบื้องต้น เพื่อให้ทางผู้รับผิดชอบ
โครงการเข้าไปช่วยเหลือเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์สามารถกำหนดราคาขายได้สูงขึ้น รวมทั้งเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายให้กว้างขวาง เกิดการจูงใจให้ผู้บริโภคซื้อผลิตภัณฑ์มากและยกระดับคุณภาพชีวิตและรายได้ เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ตรงจุดนำไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 11:56 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เห็ด สืบ สาส์น หมู่ที่ 4 ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ๒๐ ปี ระหว่างปี ๒๕๖๐ ถึง ปี ๒๕๗๙ โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏมีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมแบบบูรณาการ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น โดยมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเป็นแหล่งให้ความรู้และเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการ มีบุคลากร นักวิชาการที่มีศักยภาพในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนที่พร้อมจะขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 11:25 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เห็ดพอเพียง หมู่ที่ 3 บ้านคลองบางหลวง ต.คูขวาง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ด้วยแนวคิดพันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม จากปรัชญาการสร้างปัญญาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ถูกถ่ายทอดเป็นวิสัยทัศน์ไปสู่การทำงานของสถาบันการศึกษา ร่วมกับภาคีในพื้นที่(Engagement) ที่มุ่งหมายหวังผลที่จะตอบปัญหาของชุมชนหรือสังคม เฉพาะที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำมากขึ้น พันธกิจนี้จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมืออย่างแท้จริงของทุกภาคส่วน ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยด้วยกันเอง และระดับมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย งานวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นตามหลักพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม โดยให้ความสำคัญกับการ
แก้ปัญหาของชุมชน ท้องถิ่นอย่างเป็นระบบซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุน และส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้วยการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการ เข้ากับแนวปฏิบัติที่ดี ที่เป็นศักยภาพของชุมชนเพื่อให้ชุมชนสามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกชุมชนได้
ดังนั้น การสำรวจความต้องการและศึกษาบริบทของ ชุมชนคลองบางหลวง หมู่ที่ 3 ตำบลคูขวางอำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของโครงการสร้างเครือข่ายชุมชน นักปฏิบัติเพื่อร่วมกับศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น เสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น สามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนที่งานวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการตามแผนงานพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดปทุมธานี
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 11:02 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์พริกแกง หมู่ที่ 2 บ้านคลองบางหลวง ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (ปี 2562)มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัย
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายใน และภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น และเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ชุมชนหมู่ 2 ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นพื้นที่ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของสังคม ในมิติทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม จนในที่สุดพัฒนาไปสู่ความทันสมัย (Modernization) ภายใต้กระแส (Globalization) ปัจจุบันนี้ อาจกล่าวได้ว่า พื้นที่ศึกษาได้เข้าสู่ยุคทุนนิยม (Capitalism) อย่างเต็มตัวเพราะมีโรงงานมากกว่า 38 แห่ง ที่รายล้อมทั้งใน และนอกชุมชน การเข้ามาของห้างสรรพสิ้นค้าขนาดใหญ่ ได้แก่ บิ๊กซี โลตัส ตลอดจนร้านสะดวกซื้อ ได้แก่ ร้าน 7-11 และ ร้าน 108 ช็อป เป็นต้น ทำให้มองเห็นผลสะท้อนถึงระบบทุนนิยมที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอาชีพ อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยพบว่า ในพื้นที่มีการผลิตพริกแกงเพื่อขายให้กับกลุ่มลูกค้าทั่วไป เพื่อนำไปเป็นส่วนประกอบในการทำอาหาร แต่ทว่ากระบวนการผลิตจะขึ้นอยู่กับการสั่งสินค้าของลูกค้าในแต่ละครั้ง จากการสำรวจเบื้องต้นทราบว่าบรรจุภัณฑ์นั้นยังไม่เป็นที่น่าสนใจ ดังนั้น นักวิจัย และชุมชนมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าของพริกแกงให้เป็นที่น่าสนใจยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าในชุมชน และเพิ่มรายได้ต่อเดือนให้กับกลุ่มสตรี
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 10:10 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การปลูกพืชสวนครัว และพืชผักสมุนไพรในกระถาง บ้านคลองบางหลวง หมุ่ที่1 ต.คูขวาง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ๒๐ ปี ระหว่างปี ๒๕๖๐ ถึง ปี ๒๕๗๙ โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏมีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมแบบบูรณาการ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น โดยมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเป็นแหล่งให้ความรู้และเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการ มีบุคลากร นักวิชาการที่มีศักยภาพในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนที่พร้อมจะขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
learnoffice เมื่อ 12 ธ.ค. 2562 09:34 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์พริกแกงตำมือ น้ำพริกปลาย่าง น้ำสมุนไพร กลุ่มอาชีพบ้านคลองบางหลวงไหว้พระ หมู่ที่ 11 ตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ๒๐ ปี ระหว่างปี ๒๕๖๐ ถึง ปี ๒๕๗๙ โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏมีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมแบบบูรณาการ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น โดยมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเป็นแหล่งให้ความรู้และเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการ มีบุคลากร นักวิชาการที่มีศักยภาพในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนที่พร้อมจะขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
learnoffice เมื่อ 11 ธ.ค. 2562 14:05 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กล้วยกวน ชุมชนหมู่ที่ 12 คลองเจ้า ต.คูบางหลวง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ๒๐ ปี ระหว่างปี ๒๕๖๐ ถึง ปี ๒๕๗๙ โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏมีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมแบบบูรณาการ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น โดยมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเป็นแหล่งให้ความรู้และเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการ มีบุคลากร นักวิชาการที่มีศักยภาพในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนที่พร้อมจะขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
learnoffice เมื่อ 11 ธ.ค. 2562 13:33 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กล้วยฉาบ กลุ่มแม่บ้าน หมู่ที่ 9 คลองบางหลวง ต.คูบางหลวง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี (ปี 2562)ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ๒๐ ปี ระหว่างปี ๒๕๖๐ ถึง ปี ๒๕๗๙ โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏมีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมแบบบูรณาการ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น โดยมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเป็นแหล่งให้ความรู้และเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการ มีบุคลากร นักวิชาการที่มีศักยภาพในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนที่พร้อมจะขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
kwanchaithailand เมื่อ 21 พ.ย. 2562 20:38 น.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนพื้นที่อำเภออมก๋อยตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อย่างยั่งยืน : โครงการ การสร้างส้วมซึมประจำครัวเรือนร่วมกับชุมชน (ปี 2556)การใช้หลักการสร้างนวัตกรรม โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจาก ภาครัฐ-เอกชน-จิตอาสา-การมีส่วนร่วมของชุมชนเป้าหมาย เพื่อดำเนินการสำรวจข้อมูลและการประสานความร่วมมือเพื่อให้เกิดดการมีส่วนร่วมของวชุมชน โดยสร้างกิจกรรมจิตอาสาของชมรมอาสมัครของนักศึกษาในคณะเทคนิคการแพทย์ และ เครือข่าย เพื่อให้โครงการดำเนินการได้ทั้งโดยความร่วมมือของชุมชนผู้ต้องการส้วม และ ท้องถิ่นที่เข้ามาช่วยจัดการให้มีระบบน้ำสำหรับการใช้งานกับส้วมที่สร้างขึ้น และ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขอนามัยที่จัดขึ้น มีนักศึกษาและบุคลากรเข้าร่วมโครงการ 80 คน จาก 6 คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ(คณะเทคนิคการแพทย์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์) คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ เพื่อร่วมกันตอบหลักการและเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องสร้้างนวัตกรรมสังคมนี้ เนื่องจากพื้นที่อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นถิ่นทุรกันดาร เส้นทางคมนาคมไม่สะดวก การเดินทางมารับบริการที่โรงพยาบาลอมก๋อยเป็นภาระอย่างมากสำหรับผู้ที่จะมาใช้บริการจากบางท้องที่ ปัญหาสาธารณสุขหลักอย่างหนึ่งเกี่ยวข้องกับการอนามัยส่วนบุคคล โดยเฉพาะการขาดแคลนส้วมซึมประจำบ้าน ทั้งนี้แม้จะมีหลายหน่วยงานได้ดำเนินการจัดหาส้วมซึมประจำหมู่บ้านให้แต่ผลสุดท้ายขาดการดูแลและการใช้งาน จึงควรดำเนินการจัดหาส้วมซึมประจำบ้าน โดยดำเนินการร่วมกับเจ้าของบ้านที่จะต้องมีส่วนร่วมและวางแผนดำเนินการตั้งแต่เริ่มต้น เนื่องจากความทุรกันดารของพื้นที่จึงต้องอาศัยการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ปัญหาทางด้านสาธารณสุขในเด็กเยาวชน และประชากรทั่วไป ยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญประการหนึ่ง ที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้เด็กเยาวชน และประชากรทั่วไป มีสุขอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงบนพื้นฐานของการดูแลและพึ่งพาตนเอง ซึ่งเป็นไปตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยของเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ในโอกาสนี้คณะเทคนิคการแพทย์ ในฐานะผู้แทนของคณะต่าง ๆ ในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอน้อมนำแนวพระราชดำริ ร่วมดำเนินการในโครงการพระราชดำริฯ ดังกล่าว ในการดูแล ป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพของประชาชนด้านการอนามัยบุคคลเพื่อลดผลกระทบจากโรคติดเชื้อสืบเนื่องจากระบบขับถ่ายในพื้นที่อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนพื้นที่อำเภออมก๋อยตามแนวพระราชดำริฯ อย่างยั่งยืน.=hดำเนิน
PMQAMarch.pq2524 เมื่อ 4 พ.ย. 2562 21:40 น.
มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่การดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนไทยในศตวรรษที่ 21 อย่างยั่งยืน กรณีศึกษาโรงเรียนสันปูเลย ปัจฉิมวัย เทศบาลตำบลสันปูเลย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ (ปี 2562)โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นรูปแบบหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการศึกษา การพัฒนาทักษะเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรมของโรงเรียนผุ้สูงอายุจะป้นเรื่องที่ผู้สูงอายุสนใจและมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จำเป็น โดยวิทยากรหรือจิตอาสาหรือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพโดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์ ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่น เพื่อสืบสานภูมิปัญญา นวัตกรรมให้คงค่าคู่กับชุมชน
penwarat_s.rmutl-09 เมื่อ 1 พ.ย. 2562 11:17 น.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนางานวิจัยเกษตรอุตสาหกรรมกลางทาง :การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากกลีบกุหลาบ (ปี 2562)ประเทศไทยมีไม้ดอกที่เป็นมงคลและมีกลิ่นหอมเฉพาะตัวหลากหลายชนิดที่อาจสามารถนำมาสกัดสารที่ให้กลิ่นหอม เพื่อนำมาใช้ในธุรกิจสปา หรือการนวดไทยได้ โดยไม้ดอกที่ให้ดอกสวยงาม ทนต่อโรค และมีกลิ่นหอม อย่างกุหลาบ ก็เป็นที่นิยมในการนำมาสกัดเอาน้ำมันหอมระเหย เพื่อใช้ในการบำบัดความเครียดและอื่นๆ จากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นพบว่า ในประเทศไทยมีการใช้ประโยชน์จากน้ำมันดอกกุหลาบมาช้านาน ผ่านการนำเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งเรียกว่า “น้ำดอกไม้เทศ” ได้จากการละลายน้ำมันดอกกุหลาบในน้ำต้มสุก นิยมนำมาใช้เป็นน้ำกระสายยาในยาขนานต่างๆ ( ชยันต์ พิเชียรสุนทร, 2556) นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเกี่ยวกับฤทธ์ของกุหลาบ ทางเภสัชวิทยาของกลิ่นหรือน้ำมันหอมระเหยจากกุหลาบไว้อย่างหลากหลายชนิด อาทิเช่น กุหลาบมอญ มีฤทธิ์ คลายกังวล (Bradley B F. etc , 2007) มีผลต่อการนอนหลับ (Rakhshandah H,etc. ,2004) มีผลต่อการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ acetylcholinesterase (AChE) และ butyrylcholinesterase (BChE) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ทําลายสารสื่อประสาทที่มีบทบาทสําคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้และจดจํา (Senol FS etc , 2013)
จากข้อมูลดังกล่าววิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่สูงบ้านทุ่งโป่ง หมู่ 4 มีความสนใจในการนำกุหลาบที่มีการเพาะปลูกเชิงท่องเที่ยวทางการเกษตรมากกว่า 100 ไร่ ซึ่งแต่เดิมจนถึงปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการเพาะปลูกกุหลาบจากมูลนิธิโครงการหลวงห้วยเสี้ยว เพื่อให้เกษตรกรบนพื้นที่สูงมีอาชีพและสร้างรายได้ให้กับครอบครัว จนปัจจุบันมีปริมาณดอกกุหลาบที่บานแล้วเป็นจำนวนมาก ทางกลุ่มฯจึงเห็นว่า กลีบกุหลาบเหล่านั้นน่าจะสร้างรายได้ให้กับกลุ่มฯและประชากรในหมู่บ้านได้ โดยนำมาสกัดเป็นน้ำมันจากดอกกุหลาบเพื่อนำไปใช้ในการทำสปา หรือนวดแผนไทยของหมู่บ้าน โดยทางกลุ่มได้มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอยู่แล้วด้วย แต่กลุ่มเกษตรฯ ยังขาดองค์ความรู้ด้านการสกัดและวิธีการและอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการสกัด ซึ่งสภาวะในการสกัดถือเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อคุณภาพของน้ำมันหอมระเหย หากเลือกวิธีการและสภาวะที่ไม่เหมาะสมในการสกัดจะทำให้ไม่ได้ซึ่งน้ำมันหอมระเหย โดยกระบวนการทางกายภาพ เช่นการบด การแช่ผสม ไม่สามารถที่จะได้น้ำมันหอมระเหยออกมาได้ ถึงแม้จะเป็นวิธีที่ง่ายและต้นทุนต่ำ แต่การจะได้มาซึ่งน้ำมันหอมระเหยที่มีคุณภาพเหมาะสมต่อการใช้งานก็จะต้องมาจากผลกรศึกษาผ่านการทำวิจัยเช่นกัน
ทั้งนี้ทางคณะวิจัยเห็นว่า การนำกลีบกุหลาบมาสกัดเป็นน้ำมันหอมระเหยเพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจสปาและนวดแผนไทยของกลุ่มฯ จะเป็นการนำวัตถุดิบทางการเกษตรเหลือใช้มาสร้างมูลค่าเพิ่ม และเป็นการนำองค์ความรู้ทางด้านการวิจัยเผยแพร่สู่ท้องถิ่น เพื่อให้ชาวบ้านสามารถนำไป
พัฒนาและปฏิบัติตามได้ง่ายขึ้นและยังเกิดประโยชน์ในด้านการพัฒนาการศึกษาอีกด้วย โดยการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากกลีบกุหลาบ จะนำไปสู่กระบวนการคัดเลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการสกัดน้ำมันหอมระเหยให้มีความคุ้มทุน ตลอดจนเป็นวิธีที่ง่าย มีผลรองรับทางวิชาการ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด
pattanapong เมื่อ 1 พ.ย. 2562 11:14 น.
การขับเคลื่อนมาตรการเชิงบวกในการจัดการน้ำเสียชุมชนในเขตเทศบาลนครลำปาง ตามแนวทางการจัดการน้ำเสียชุมชนริมแม่น้ำวัง ช่วงไหลผ่านเทศบาลนครลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (ปี 2563)ความร่วมมือของภาคครัวเรือนผู้ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ซึ่งต้องใช้กระบวนการการมีส่วนร่วม โดยในการร่วมคิดและตัดสินใจในการจัดการน้ำเสียระดับครัวเรือน เป็นเรื่องยากที่จะทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมจริง ๆ และเป็นอิสระในการเลือกทำ เพราะแต่ละครัวเรือนมีศักยภาพ ฐานะ อำนาจในชุมชนแตกต่างกัน ปัจจัยในชุมชนบางประการเป็นอุปสรรคต่อการเลือกทำ บ้านแต่ละบ้านต่างมีมุมมองในการตัดสินคุณค่าในการดำเนินการนี้แตกต่างกัน ประสบการณ์ต่างกัน เหล่านี้อาจนำไปสู่การไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของบ้านเรือนอื่นๆ ดังนั้นการมีส่วนร่วมเป็นปรากฏการณ์ที่มีความหมายหลากหลาย เป็นความพยายามร่วมกันในชุมชนเพื่อแก้ปัญหาและบรรลุความสำเร็จในการผลักดันการจัดการน้ำเสียภาคครัวเรือนนี้ โดยเริ่มจากการ รับรู้ร่วมกัน คิดร่วมกัน และ กระทำร่วมกันในโครงการอย่างต่อเนื่อง เข้ามาใช้ในการดำเนินงานให้เทคนิคข้างต้น ซึมซับและเกิดกระบวนการที่สามารถขับเคลื่อนต่อไปได้อย่างสัมฤทธิ์ผล
thee_ntu_551040 เมื่อ 1 พ.ย. 2562 11:05 น.
มหาวิทยาลัยเนชั่นการสื่อสารอัตลักษณ์อาหารริมทางในจังหวัดลำปาง เพื่อสร้างจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยว (ปี 2563)จากแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการปฏิรูปประเทศ สัญญาประชาคมซึ่งมีวิสัยทัศน์ที่อยากเห็นประเทศไทย “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” จากนโยบายรัฐบาล หลักการประชารัฐ และสำหรับจังหวัดลำปางเองก็ได้มีแนวทางและจุดเน้นในการพัฒนาจังหวัด ปี2562 เพื่อให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นั่นเอง โดยจังหวัดลําปางก็ได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ในปี 2562 นี้ไว้ว่า “ลําปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข” ซึ่งในแผนพัฒนาของจังหวัดลำปางในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ โดยมีการกำหนดแนวคิดไว้ว่า “ลําปางปลายทางฝัน” โดยจังหวัดลำปางนั้นได้มีความต้องการที่จะให้ก้าวข้ามเมืองผ่าน สู่จุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นการเปลี่ยนจังหวัดลำปางจากเมืองที่นักท่องเที่ยวแค่เดินทางผ่านไปแต่จะต้องทำให้กลายมาเป็นจังหวัดที่นักท่องเที่ยวต้องแวะและเป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวที่จะต้องตั้งใจเดินทางมาท่องเที่ยวต่อไป (lampang.go.th, 2562)
ในช่วงตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมานั้นจังหวัดลำปาง ได้จัดทำการโครงการลำปางแบรนด์ "นครแห่งวัฒนธรรมล้านนา เปิดประตูการค้าสู่อาเซียน” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตราสัญลักษณ์ให้กับจังหวัดลำปาง ให้มีความโดดเด่น และมีความชัดเจนในภาพลักษณ์ของจังหวัดลำปาง เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ และภูมิภาคอาเซียนเพิ่มมากขึ้น โดยเปลี่ยนแนวคิดจากเมืองที่เป็นสถานที่ตั้ง ให้กลายเป็น เมืองจุดหมายปลายทางที่จะต้องไป เพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถจดจำแบรนด์ของเมือง ซึ่งก็คือ ภาพรวมของทั้งเมืองในภาพเดียว แต่สะท้อนการเป็นตัวแทนในทุกๆ มิติที่เกิดขึ้น และดำเนินต่อไปภายในเมือง จากการระดมความคิดเห็นจากการจัดประชุมประชาคมชาวจังหวัดลำปางเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2557 ที่ผ่านมา โดยที่ประชุมเห็นชอบร่วมกันที่จะกำหนดตราสัญลักษณ์ของจังหวัดลำปาง หรือลำปางแบรนด์ โดยมีรายละเอียดดังนี้

ภาพประกอบ : โลโก้ลำปางแบรนด์ ที่มา: https://www.m-culture.go.th/lampang/ewt_news.php?nid=66.

รถม้า – อัตลักษณ์ของลำปาง "เมืองรถม้า” มีตำนานยาวนานมากว่า 100 ปี
ไก่ – เป็นสัญลักษณ์ของลำปางมาตั้งแต่สมัยเมืองกุกกฏนครและมีชามตราไก่อันลือชื่อ
วัดพระธาตุลำปางหลวง – วัดคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดลำปางสร้างขึ้นโดยจำลองคติไตรภูมิจักรวาลที่มีองค์พระธาตุเป็นตัวแทนของเขาพระสุเมรุซึ่งมีความศักดิ์สิทธิ์มาก (m-culture.go.th, 2557) ซึ่งทั้ง 3 อย่างนี้ได้ปรากฎในโลโก้เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปางให้นักท่องเที่ยวสามารถจดจำอัตลักษณ์ของจังหวัดลำปางได้ง่ายขึ้นนั่นเอง
ทั้งนี้จังหวัดลำปางเองก็ยังมีวัฒนธรรมในด้านอาหารการกินที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะจังหวัดลำปางเท่านั้น ซึ่งสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำปางก็ได้มีการประชาสัมพันธ์อาหารท้องถิ่นซึ่งเป็นของจังหวัดลำปางแท้ๆ นั้นเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้หารับประทานกัน ซึ่งจะเป็นรายการอาหารแนะนำของทุกอำเภอในจังหวัดลำปางเท่านั้น ได้แก่ แกงฮังเลของอำเภอเมือง, ลาบหมูของอำเภอแม่เมาะ, แกงแคไก่เมืองของอำเภอเกาะคา, ลากไก่ใส่หยวกกล้วยของอำเภอสบปราบ, หลามปลาภูเขาของอำเภอเสริมงาม, ยำใบเมี่ยงของอำเภอเมืองปาน, แกงแคกบของอำเภอวังเหนือ, หน่อไม้จ่อมของอำเภอเถิน, ตำขนุนใส่หนังหมูของอำเภองาว, น้ำพริกถั่วเน่าของอำเภอแม่พริก, แกงบอนของอำเภอห้างฉัตร, น้ำพริกปูของอำเภอแจ้ห่ม, และหลามบอนของอำเภอแม่ทะ (m-culture.go.th, 2562) แต่จากรายการอาหารที่กล่าวมานั้นก็ยังเป็นรายการอาหารที่ไม่ใช่อาหารริมทางที่สอดคล้องกับคำกำกัดความขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ที่ได้ระบุไว้ว่า อาหารริมทาง (Street food) นั้นต้องหมายถึง อาหารและเครื่องดื่มที่พร้อมต่อการบริโภคได้ทันที ขายเพื่อการบริโภคในพื้นที่สาธารณะซึ่งสามารถเข้าถึงได้อย่างง่ายจากท้องถนน มีต้นทุนในการประกอบอาหารที่ต่ำ (Delisle, 1990) และยังเป็นในลักษณะรถเข็นอาหารที่ไม่ใช่ร้านอาหารแม้จะมีความใกล้เคียงกับร้านอาหารก็ตามแต่มีวิธีการให้บริการและมีเงื่อนไขการค้าที่แตกต่างกันออกไป (Newman & Burnett, 2013) นั่นเอง
ดังนั้นแล้วจากความหมายอาหารริมทางและเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับรายการอาหารที่ทางสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำปางได้มีการประชาสัมพันธ์นั้น จึงยังไม่เข้าข่ายอาหารริมทางของจังหวัดลำปาง ซึ่งในจังหวัดลำปางเองก็ยังมีอาหารริมทางที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดลำปางที่น่าสนใจอีกจำนวนมากที่ควรจะมีการส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักของกลุ่มนักท่องเที่ยวและสร้างเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวเชิงอาหารและยังเป็นการสอดคล้องกับแผนงานแนวทางและจุดเน้นในการพัฒนาจังหวัดลำปางในปี2562 นี้ ตามแนวคิด “ลําปางปลายทางฝัน” ก้าวข้ามเมืองผ่าน สู่จุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยว ทั้งนี้ผู้วิจัยหวังว่าในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะสามารถเติมเต็มนโยบายของทางจังหวัดลำปางในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ เพื่อสร้างให้จังหวัดลำปางที่จะไม่เป็นเพียงเมืองผ่านไปเท่านั้นแต่จะเป็นเมืองที่ได้กลายมาเป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวผ่านอาหารริมทางของจังหวัดลำปางและยังเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนต่อไปอีกด้วย
thatsaporn_ntu2019 เมื่อ 1 พ.ย. 2562 11:01 น.
มหาวิทยาลัยเนชั่นห่วงโซ่คุณค่าของผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปเพื่อพัฒนาทักษะด้านการตลาดของเกษตรกรในจังหวัดลำปาง รองรับโครงการ Smart Farmer (ปี 2562)การนำแนวความคิดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) มาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปของจังหวัดลำปาง เป็นหนึ่งในเป้าหมายภายใต้โครงการผลักดันการพัฒนาเกษตรกรเพื่อยกระดับก้าวสู่การเป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง หรือ Smart Farmer หรือเป็นเกษตรกรคุณภาพที่มีคุณสมบัติพื้นฐานสำคัญคือ 1) เป็นผู้มีความรู้ในเรื่องเทคโนโลยทางการเกษตร 2) มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลทั้งจากเจ้าหน้าที่ของรัฐและผ่านระบบเทคโนโลยีสารเทศและการสื่อสารอื่นๆ 3) มีการบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด ที่สามารถเชื่อมโยงการผลิตและการตลาดเพื่อให้ขายผลผลิตได้ 4) เป็นผู้มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค ตามมาตรฐาน GAP/GMP เกษตรอินทรีย์ หรือมาตรฐานอื่นๆ 5) มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สังคม โดยมีกิจกรรมที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่อง และ 6) มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร (สำนักนายกรัฐมนตรี, 2559) แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดทักษะการเป็นผู้ประกอบการที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการบริหารจัดการการตลาดเพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดสากล จำเป็นต้องเร่งพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อเตรียมความพร้อมในการขยายตลาดและสร้างมูลค่าเพิ่มในตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งนี้ การขยายศักยภาพในตลาดสินค้ากลุ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปต้องสร้างความมั่นใจแก่ผู้ซื้อสินค้าตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ
ในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกกำลังปฏิวัติการทำระบบเกษตรรูปแบบใหม่ในชื่อที่เรียกว่า Smart Farm โดยการนำเทคโนโลยีด้านการเกษตรแผนใหม่ผสมผสานกับองค์ความรู้ของเกษตรกรท้องถิ่นให้มีการจัดการและนวัตกรรมเข้ามาบริหารจัดการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดในอนาคต ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงมองเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการศึกษาเรื่อง ห่วงโซ่คุณค่าของผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปเพื่อพัฒนาทักษะด้านการตลาดของเกษตรกรในจังหวัดลำปาง รองรับโครงการ Smart Farmer เพื่อวิเคราะห์กิจกรรมทางการตลาดในกระบวนการสร้างคุณค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปในจังหวัดลำปางและพัฒนาสู่ความสามารถในการแข่งขันทางการตลาดเชิงกลยุทธ์ของเกษตรกรในจังหวัดลำปาง สามารถยกระดับก้าวสู่การเป็น Smart Farmer ได้ในอนาคต
rawipha_lpru เมื่อ 1 พ.ย. 2562 11:01 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปางการใช้นวัตกรรมด้านพลังงานในการบริหารจัดการชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา “ปงยางคกโมเดล” (ปี 2561)โครงการวิจัยที่ทำการทดลองพร้อมเก็บข้อมูลกระบวนการเพาะเห็ดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้น ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปางเพื่อนำไปวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรือนกระจกด้วยการประเมินวัฏจักรชีวิต(Life Cycle) พบว่า เมื่อนำนวัตกรรมที่ใช้ในการเพิ่มมูลค่าก้อนวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดแล้ว โดยการทำเป็น “ถ่านอัดแท่งจากวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดแล้ว” ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับกระบวนการการกำจัดก้อนเห็ดที่ใช้แล้ว สามารถลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการเผาในที่โล่งของก้อนวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดแล้ว มีค่าเท่ากับ 2.125 กิโลกรัมต่อการผลิตถ่านอัดแท่งจากก้อนเห็ด 1 ครั้ง ในขณะที่เกิดผลผลิตที่เป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้นในรูปแบบของสิ่งประดิษฐ์ “เตานึ่งไอน้ำลุงชูชาติ”ได้ถูกนำมาใช้ในการลดต้นทุนของกลุ่มด้วยการลดการใช้ฟืนในกระบวนการเตรียมก้อนวัสดุสำหรับเพาะเห็ด ในขณะเดียวกันก็ช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก มีค่าเท่ากับ 2,871 ตันต่อเดือน
จากการดำเนินการทดลองพร้อมเก็บข้อมูลการเพิ่มมูลค่าและสร้างความหลากหลายจากผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ดจาก 2 ผลิตภัณฑ์เป็น 5 ผลิตภัณฑ์ ด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจกขนาดเล็ก และเมื่อมีการติดตั้งแหล่งความร้อนเสริมจากแก๊สหุงต้มเข้าเครื่องอบแห้งของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้น ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปางแล้ว ทำให้ผลิตภัณฑ์การแปรรูปเพิ่มจาก 2 ผลิตภัณฑ์เป็น 7 ผลิตภัณฑ์ เมื่อวิเคราะห์ความนิยมและความพึงพอใจของผู้บริโภคในผลิตภัณฑ์ใหม่ของกลุ่มวิสาหกิจ พบว่า เมื่อผลิตภัณฑ์เพิ่มเป็น 5 ผลิตภัณฑ์แล้ว สามารถเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 -60 ต่อเดือน หากผลิตภัณฑ์เพิ่มเป็น 7 ผลิตภัณฑ์สามารถสร้างรายได้ให้กับกลุ่มเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 -70 ต่อเดือน
จากการดำเนินการปรับปรุงและทดลองใช้เครื่องให้น้ำอัตโนมัติของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้น ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง ในการเพิ่มปริมาณผลผลิตของเห็ดนางฟ้านอกฤดูกาล พบว่า ปริมาณของเห็ดนางฟ้านอกฤดูที่ผลิตได้ โดยเฉลี่ย 516 กิโลกรัมต่อโรงเรือน สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิต คือ เห็ดนางฟ้านอกฤดูที่มีความสมบูรณ์ ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
นอกจากนี้การนำนวัตกรรมเชิงพลังงานมาใช้ก่อให้เกิดอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ทั้งในส่วนผลิตภัณฑ์ที่บริโภคได้ ซึ่งได้แก่ ข้าวเกรียบเห็ด,น้ำเห็ด 3 ชนิด, ไส้อั่วเห็ด, หมูแดดเดียว และกล้วยตาก ในขณะเดียวกันก็ยังเกิดผลิตภัณฑ์สิ่งประดิษฐ์ที่เป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มโดยภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ เตานึ่งไอน้ำลุงชูชาติ ซึ่งช่วยลดต้นทุนจากการลดใช้ฟินได้ถึงร้อยละ50 เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณการใช้เดิม
photchana-cmru_2019. เมื่อ 1 พ.ย. 2562 10:58 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่การสร้างสำนึกร่วมแห่งความเป็นชุมชนของเด็กและเยาวชน บ้านแม่ใจใต้ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ (ปี 2562)การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบันจากกระแสโลกาภิวัตน์ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่นของไทยหลากหลายมิติ อีกทั้งการพัฒนาระบบสารสนเทศ การคมนาคมสื่อสารได้ก่อให้เกิดสภาวะเลื่อนไหลที่สำคัญ ดัง Arjun Appadurai (1990: 296-300) ได้กล่าวว่า โลกาภิวัตน์ก่อให้เกิดสภาวะเลื่อนไหล หรือการเคลื่อนย้ายทางวัฒนธรรม 5 มิติ ดังนี้ (1) มิติทางเทคโนโลยี (technoscapes) (2) มิติทางการเงิน (financescapes) (3) มิติทางสื่อมวลชนและข่าวสารข้อมูล (mediascapes) (4) มิติทางอุดมการณ์ (ideoscapes) และ (5) มิติทางชาติพันธุ์ (etnoscapes) ที่ก่อให้เกิดการย้ายถิ่นของประชากรข้ามชาติจำนวนมหาศาล ไม่ว่าจะเป็นการท่องเที่ยว คนย้ายถิ่น ผู้อพยพ ผู้ถูกขับไล่ออกนอกประเทศประเทศ เป็นต้น ไม่เพียงแต่การย้ายถิ่นฐานของประชากรข้ามชาติเท่านั้น การย้ายถิ่นฐานทั้งแบบถาวรและชั่วคราวยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการย้ายถิ่นของคนชนบทเข้าสู่เมืองอันเป็นผลทำให้โครงสร้างทางประชากรของบางชุมชนท้องถิ่นมีความผิดปกติ เนื่องจากมีการย้ายถิ่นของประชากรวัยแรงงานและวัยรุ่นเป็นจำนวนมาก เพื่อเข้าไปทำงานและศึกษาเล่าเรียนในเมืองหรือพื้นที่เป็นศูนย์กลางของเศรษฐกิจและการศึกษา
การย้ายถิ่นฐานไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาสั้นหรือยาวนานย่อมส่งกระทบต่อความสัมพันธ์หรือความผูกพันระหว่างปัจเจกบุคคลกับชุมชนท้องถิ่นของตนเอง รวมถึงสถานการณ์การเลื่อนไหลของกระแสวัฒนธรรมภายนอกที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่น จึงเป็นตัวเร่งที่ทำให้คนรุ่นใหม่บางส่วนได้ละทิ้งถิ่นฐาน บ้านเกิดหรือชุมชนท้องถิ่นของตนเองเพื่อไปแสวงหาความเจริญก้าวหน้าและความมั่นคงในชีวิต อันส่งผลต่อวิกฤตค่านิยม ทัศนคติ และ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิต แต่อย่างไรก็ตามจากวิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์ชาติซึ่งกำหนดทิศทางของประเทศด้านความมั่นคงของสังคม ได้ระบุถึงเป้าหมายที่สังคมจะต้องมีความปรองดองสามัคคี ผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ซึ่งความคาดหวังดังกล่าวได้นำมาสู่สาระสำคัญในยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศยุทธศาสตร์ที่ 1
จากสาระสำคัญของยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศยุทธศาสตร์ที่ 1 ได้กล่าวถึงเป้าหมายในอนาคตของการพัฒนาในระยะต่อไปจึงต้องให้ความสำคัญกับการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เริ่มตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะทางสมอง ทักษะการ เรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยให้ เป็นคนดีมีสุขภาวะที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะ ความรู้และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพื้นฐานของการมี สถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคมสำคัญในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559)
สถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นได้ปรากฏชัดในหลายชุมชน จากการลงพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและความต้องการพัฒนาในพื้นที่เป้าหมายตามข้อตกลงความร่วมมือกับจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า บ้านแม่ใจใต้ หมู่ที่ ๗ ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการตั้งถิ่นฐานในบริเวณดังกล่าวมาเป็นระยะเวลาประมาณร้อยกว่าปี ปัจจุบันเป็นชุมชนต้นแบบที่มีศักยภาพด้านการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และเป็นชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ” และเป็นชุมชนที่เรียกได้ว่าเป็น “ชุมชนเข้มแข็ง” เนื่องจากความสามารถในการพึ่งตนเองได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมิติของ “องค์กรชุมชนด้านการเงิน” หากแต่ความเข้มแข็งดังกล่าวนำมาซึ่งสิ่งที่เป็นความกังวลของคนในชุมชนปัจจุบัน คือ กระบวนการสืบทอดค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรมและสำนึกของความเป็นชุมชนไปสู่คนในรุ่นอนาคต ทั้งนี้เชื่อว่าสำหรับคนในรุ่นปัจจุบันที่กำลังขับเคลื่อนชุมชนอยู่ล้วนแต่มีศักยภาพดังที่กล่าวไปในข้างต้น หากแต่คนรุ่นใหม่ที่ได้มีโอกาสไปศึกษาเล่าเรียน รวมถึงไปทำงานใช้ชีวิตนอกชุมชนมีเพียงส่วนน้อยที่จะกลับมาสานต่องานที่คนในรุ่นปัจจุบันได้ทำอยู่ และแกนนำชุมชนเห็นว่าควรมีการวางแผนและออกแบบกิจกรรมเพื่อการพัฒนา อันจะนำไปสู่การสืบทอดแนวทางการพัฒนาชุมชนจากคนรุ่นปัจจุบันไปสู่คนรุ่นใหม่ในอนาคต
ในการดำเนินโครงการครั้งนี้ ผู้ดำเนินโครงการมีฐานคิดในการออกแบบโครงการ โดยเชื่อว่า “ชุมใดก็ตามหากมี สำนึกร่วมแห่งความเป็นชุมชน (sense of community) เกิดขึ้นแล้ว ชุมชนแห่งนั้นย่อมเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการก่อให้เกิดความเป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนในอนาคต” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มของเด็กและเยาวชนที่เป็นอนาคตของชุมชน สังคมและประเทศ ดังนั้น การดำเนินโครงการครั้งนี้จึงเป็นความพยายามที่จะสร้างสำนึกดังกล่าวให้เกิดขึ้นแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมที่จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินกิจกรรมการศึกษาเรียนรู้ชุมชนท้องถิ่นของตนเอง
chomporn เมื่อ 1 พ.ย. 2562 10:40 น.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนการพัฒนาเมืองผู้สูงอายุ (ปี 2561)ประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับประชากรผู้สูงอายุในสังคมโลก มุมองเรื่องผู้สูงอายุควรเปลี่ยนจาก ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่อยู่ในวัยเสื่อมถอยทางสรีรวิทยา ซึ่งต้องตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงและต้องการผู้ดูแลเป็นพิเศษ ไปสู่การเป็นผู้สูงอายุสุขภาพดี(Healthy aging) ซึ่งยังมีความสามารถในการดูแลตนเองได้ ต้องการมีชีวิตอิสระไม่ตกอยู่ในภาวะพึ่งพิง และยังมีศักยภาพในการช่วยเหลือสังคมในลักษณะจิตอาสา
ผู้สูงอายุซึ่งยังมีสุขภาพดี ย่อมมีความต้องการบริการสาธารณะและสิ่งอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวัน ที่มีลักษณะเฉพาะ แตกต่างจากประชากรกลุ่มวัยเด็กและวัยหนุ่มสาว การเอื้ออำนวยให้ผู้สูงอายุ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิต นอกจากจะเป็นบทบาทของผู้สูงอายุเอง ครอบครัวและญาติพี่น้องของผู้สูงอายุ ยังต้องการการสนับสนุนจากระบบบริการสาธารณะเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ การคมนาคม และการจัดกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งล้วนเป็นบทบาทภาระหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
โครงการเมืองผู้สูงอายุ จึงเป็นโครงการที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาท้องถิ่นต้นแบบตามกรอบแนวคิด 5H ซึ่งมีกระบวนการและกิจกรรมที่เอื้ออำนวยและตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ ให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างอิสระและมีความสุข
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 17:11 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงโครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการผลิตปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศสำหรับผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ (ปี 2562)ตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุงมุ่งเน้นการพัฒนาข้าวอินทรีย์ 5 ปี (ปี 2561-2565) เพื่อเพิ่มพื้นที่การผลิตให้เกิดผลสำเร็จ จำนวน 27,000 ไร่ และพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกในการทำนาอินทรีย์ที่ผ่านมา ได้แก่ พันธุ์ข้าวสังข์หยดเท่านั้น สาเหตุเนื่องจากข้าวสังข์หยดเป็นข้าวที่ผ่านการจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) และเป็นข้าวสุขภาพที่ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศต้องการ สามารถสร้างมูลค่าและเพิ่มทางการตลาดได้เป็นอย่างดี กระบวนการผลิตข้าวอินทรีย์ค่อนข้างเข้มงวดเรื่องของการใช้สารเคมีในแปลงนาสำหรับผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ที่กำลังจะจดทะเบียน organic Thailand หรือ IFOAM ซึ่งเป็นมาตรฐานการรับรองการผลิตข้าวอินทรีย์ที่มีการตรวจสอบอย่างเข้มข้นตลอดทั้งระบบการผลิต ดังนั้นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในแปลงนาอินทรีย์จึงต้องมาจากแหล่งผลิตที่ได้รับการรับรองว่าเป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่ปราศจากการปนเปื้อนสารเคมีอย่างแน่นอน การผลิตปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศจึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งสำหรับการผลิตปุ๋ยหมักของกลุ่มเกษตรกรที่จะรวมกลุ่มกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เองเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าวอินทรีย์ โดยหลักกระบวนการผลิตปุ๋ยต้องมีการตรวจสอบคุณสมบัติและขอตรารับรองปุ๋ยอินทรีย์ที่สามารถใช้ได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการผลิตปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศเป็นกระบวนการหมักเริ่มขึ้นหลังจากนำส่วนผสมวัสดุอินทรีย์ตามสูตร คือ มูลไก่แกลบ 3 ส่วน มูลวัว 3 ส่วน และเศษวัสดุ 1 ส่วน โดยน้ำหนัก ที่ระดับความชื้นใกล้เคียงกัน ได้ผสมเข้าเป็นเนื้อเดียวกันดีแล้วพร้อมกับปรับความชื้นให้ได้ในระดับ 60 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก หรือเปียกชุ่มแต่ไม่แฉะ หรือเมื่อใช้มือกำจะเป็นก้อนแต่ต้องไม่มีน้ำไหลออกมาจากวัสดุและเมื่อใช้นิ้วบี้จะแตกออกโดยง่าย การปรับความชื้นมีความสำคัญเพราะมีผลต่อช่องว่างในกองปุ๋ยหมัก ช่องว่างที่เหมาะสมมีผลทำให้อากาศในกองปุ๋ยหมักมีการหมุนเวียนเติมออกซิเจนให้กับจุลินทรีย์ในกองปุ๋ยหมักอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ภายในกองปุ๋ยไม่เกิดสภาวะขาดออกซิเจน และช่วยปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำจากการหายใจของจุลินทรีย์ และสะสมความร้อนในกองปุ๋ยหมักให้มีความสมดุลกับจุลินทรีย์ย่อยสลายซึ่งชอบอุณหภูมิสูง สร้างเสริมกระบวนการหมักให้ประสิทธิภาพสูงเร่งการย่อยสลายให้เร็วขึ้นสม่ำเสมอทั่วทั้งกอง ลดการสูญเสียไนโตรเจน และการเกิดแก๊สมีเทนกับไนตรัสออกไซด์มีน้อยลง ซึ่งภายในกองปุ๋ยหมักจะมีการเปลี่ยนแปลงสมบัติต่างๆ ดังนี้
1) อุณหภูมิและความชื้น เป็นปัจจัยที่ต้องตรวจสอบและควบคุม ในช่วงแรกทำให้เกิดความร้อนสะสมขึ้นในกองปุ๋ยหมัก จะเริ่มมีอุณหภูมิสูงขึ้นจากความร้อนสะสมที่ขับออกมาจากการหายใจของจุลินทรีย์ในกองปุ๋ยหมักภายใน 3 วัน และจะเพิ่มเรื่อยๆไปจนถึงระดับที่ควบคุม 55-65 องศาเซลเซียส อย่างน้อย 21 วัน (หากอุณหภูมิสูงเกินไปจุลินทรีย์ย่อยสลายบางชนิดจะถูกทำลาย) ความร้อนสูงในระดับนี้ จะช่วยฆ่าเชื้อโรคของคน สัตว์ และพืช รวมทั้งทำลายการงอกของวัชพืชและสารพิษบางชนิดที่ตกค้างในวัสดุอินทรีย์ จึงทำให้กองปุ๋ยหมักปลอดภัยจากเชื้อโรคและวัชพืช เมื่อครบ 30 วัน จึงย้ายออกจากซองหมักระบบเติมอากาศ เพื่อให้เกิดการย่อยสลายต่อเนื่อง และเมื่ออุณหภูมิในกองปุ๋ยลดต่ำลงเท่ากับอุณหภูมิในอากาศ ปุ๋ยหมักก็จะเข้าสู่ระยะที่มีการย่อยสลายสมบูรณ์
2) อินทรียวัตถุและอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน ปุ๋ยหมักเป็นวัสดุอินทรีย์ที่สำคัญที่ให้อินทรียวัตถุแก่ดิน ซึ่งอินทรียวัตถุในปุ๋ยหมักเป็นอินทรียวัตถุที่ผ่านการย่อยสลายจนคงตัวในรูปของฮิวมัส ปริมาณอินทรียวัตถุในปุ๋ยหมักจะมีมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับวัสดุอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบในปุ๋ยหมัก ความคงตัวของปุ๋ยหมักวัดจากอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน ซึ่งอัตราส่วนจะลงลงน้อย หรือการย่อยสลายจะน้อยมาก ปริมาณอินทรียวัตถุจะคงที่หลังจากมีการลดความชื้นให้ต่ำลง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดวัสดุอินทรีย์ที่นำมาใช้ทำปุ๋ยหมัก
3) การเปลี่ยนแปลงของค่าปฏิกิริยากรด-ด่าง ในกองปุ๋ยหมัก ปฏิกิริยากรด-ด่างของวัสดุอินทรีย์ในกองปุ๋ยหมักจะค่อยๆ เปลี่ยนสภาพเป็นกรด ค่าปฏิกิริยากรด-ด่าง อาจต่ำถึง 4.5-5 และเมื่อปุ๋ยหมักย่อยสลายสมบูรณ์ ค่าปฏิกิริยากรด-ด่าง มากกว่า 7.5
4) การแปรสภาพของธาตุอาหารพืชในกองปุ๋ยหมัก ธาตุอาหารพืชในปุ๋ยหมักมาจากแร่ธาตุที่ปนมากับวัสดุ และการแปรสภาพในกระบวนการย่อยสลายหรือกระบวนการปุ๋ยหมัก ปลดปล่อยสารอนินทรีย์ในรูปอิออนต่างๆที่พืชดูดใช้ได้ เช่นเดียวกับรูปอิออนแร่ธาตุในปุ๋ยเคมี แต่ได้มาจากกาย่อยสลายจากวัสดุอินทรีย์ จึงทำให้ปุ๋ยหมักมีข้อดีที่ประกอบด้วยแร่ธาตุอาหารที่จำเป็นกับพืชเกือบทุกชนิดทั้งธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริม รวมทั้งยังมีสารอินทรีย์ที่ยังย่อยสลายแปรสภาพเป็นแร่ธาตุยังไม่หมดจะค่อยๆ แปรสภาพเป็นแร่ธาตุที่พืชดูดไปใช้ได้ปลดปล่อยออกมาทีหลังใส่ให้กับพืช
5) การย่อยสลายสมบูรณ์ของปุ๋ยหมัก เป็นตัวชี้วัดความเป็นประโยชน์ของปุ๋ยหมักต่อพืชโดยตรง เนื่องจากเป็นการวัดปริมาณสารพิษที่มีผลกระทบต่อการงอก ได้แก่ แก๊สแอมโมเนียและแก๊สไฮโดรเจนซัลโฟด์หรือแก๊สไข่เน่า กรมวิชาการเกษตร (2558 : 5-6)
ข้อดีของปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ คือ ให้ธาตุอาหารอยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ ทำลายเมล็ดวัชพืชและเชื้อที่ก่อให้เกิดโรค สะดวกในการเก็บรักษา ขนส่งและนำไปใช้ ช่วยลดต้นทุนการกลับกองปุ๋ยหมักและขั้นตอนในการดำเนินงาน ไม่ใช้ยูเรียเป็นส่วนผสมเหมาะสำหรับการผลิตระบบเกษตรอินทรีย์ และระยะเวลาในการหมักสั้น ดังนั้นการนำหญ้าเนเปียร์ ต้นข้าวโพด หรือผักตบชวามาใช้สำหรับการทำปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศก็จะช่วยเพิ่มมูลค่าเศษวัสดุเหลือใช้และเพิ่มรายได้จากการผลิตปุ๋ยจำหน่ายรวมถึงการช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมจากวัชพืชน้ำที่มีการเพิ่มปริมาณและขยายพันธุ์มากขึ้น จึงน่าจะเป็นแนวทาง หรือทางเลือกหนึ่งสำหรับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ที่จะรวมกลุ่มกันผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์ไว้ใช้เองหรือจำหน่ายโดยผ่านการรับรองมาตรฐานตามข้อกำหนดของมาตรฐานการผลิตข้าวอินทรีย์ และเป็นแนวทางการส่งเสริมให้เกษตรกรตระหนักและปฏิบัติตามข้อกำหนดของกระบวนการผลิตข้าวอินทรีย์ที่เป็นไปตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์อย่างจริงจัง
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 16:55 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็น Smart Farmer ในจังหวัดพัทลุง (ปี 2562)สาขาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน ได้เห็นความสำคัญของเกษตรกรซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญในการยกระดับประชากรไทย และพัฒนาให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นประเทศดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบตามนโยบาย Thailand 4.0 ดังนั้นแนวคิดเรื่อง Smart Farmer ซึ่งมีจุดเริ่มต้นมาจากแนวคิดที่ต้องการให้คนไทยที่มีความรอบรู้ หรือทำอาชีพด้านเกษตรกร มีความภูมิใจในการเป็นเกษตรกร โดยครอบคลุมด้านความรู้ในการเกษตร สามารถบริหารจัดการทั้ง การผลิต การตลาด รวมถึงวิเคราะห์ เชื่อมโยงให้คำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค สังคม รวมถึงสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามเกษตรกรผู้ที่สนใจในการทำการเกษตรตามแนวคิด smart farmer ในจังหวัดพัทลุงยังขาดองค์ความรู้ต่างๆ ในการส่งเสริมการก้าวเข้าสู่การเป็น Young Smart Farmer ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาใช้ในธุรกิจเกษตร ความรู้ด้านการตลาด และเทคนิคการเพิ่มมูลค่าการขายสินค้าโดยใช้เทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์นั่นเอง
สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มีความตั้งใจในการร่วมแก้ปัญหาและพัฒนาระบบการผลิตให้เป็นไปตามนโยบายในการพัฒนาเกษตรกรไทยเป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) จึงต้องมีการ พัฒนาเกษตรกรที่อยู่ในกลุ่ม Existing Smart Farmer ให้เป็นเกษตรกรต้นแบบ (Model) เพื่อให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพทั้งด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาดในการประกอบอาชีพการเกษตร โดยใช้ แหล่งเรียนรู้จากหน่วยงานต่างๆ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และมีเครือข่ายที่สามารถประสานงานในด้านต่าง ๆ ให้พร้อมที่จะสามารถแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ได้ ดังนั้น สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็น Young smart farmer ในจังหวัดพัทลุง เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรเห็นความสำคัญ สามารถปรับเปลี่ยนให้เป็นเกษตรกรแห่งยุคสมัยใหม่ที่เพิ่มความภูมิใจได้ด้วยแนวคิดของ Smart Farmer และให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาประเทศต่อไป
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 16:37 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาโครงการ พัฒนากลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง (ปี 2562)การพัฒนาเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง เป็นกรอบคิดและเครื่องมือที่สถาบันปฏิบัติการชุมชนเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ นำมาใช้เพื่อพัฒนาระบบการผลิตทางการเกษตรในชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนให้กับชุมชน เนื่องจากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ เป็นวิธีการผลิตทางการเกษตรที่หลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีหรือสารสังเคราะห์ต่างๆ เป็นระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับธรรมชาติ ได้แก่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติเพื่อการเกษตรอย่างยั่งยืน เกษตรอินทรีย์จึงสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ ป่า ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากพิษของสารเคมี ลดต้นทุนการผลิต และส่งผลดีต่อสุขภาพผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม เป็นระบบที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้เกษตรกรยืนอยู่บนหลักเหตุและผล มีการบริหารจัดการที่มีภูมิคุ้มกันตามหลักความพอเพียง
แนวคิดนี้ได้พัฒนาต่อเนื่องจากการดำเนินงานของสถาบันฯ ในระยะที่ 1 ( 2550-2555) ซึ่งเป็นการปรับกระบวนทัศน์การทำสวนยางพาราเชิงเดี่ยวสู่การทำเกษตรผสมผสาน ทำให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจการอยู่ร่วมกันของคน ป่า ดิน และน้ำ มีความตระหนักว่าการทำการเกษตรในระบบเสรีนิยม ที่ต้องพึ่งพาสารเคมี และปุ๋ยเคมี จะไม่ส่งผลดีในอนาคต จนดำเนินการมาถึงในระยะที่ 2 (2556-ปัจจุบัน) มีการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรในชุมชนทำเกษตรอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์จึงถือได้ว่าเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญในการขับเคลื่อนระบบเกษตรอินทรีย์ให้ประสบความสำเร็จ ตลอดระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา สถาบันฯ ได้นำองค์ความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาสูตรปุ๋ยอินทรีย์โดยเริ่มจากการคัดเลือกจุลินทรีย์ในท้องถิ่นมาใช้เป็นหัวเชื้อจุลินทรีย์และพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์สูตรต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิดเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ชุมชนสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เอง ผลปรากฏว่าทุกชุมชนยอมรับคุณภาพของปุ๋ยอินทรีย์ที่พัฒนาสูตรโดยสถาบันปฏิบัติการชุมชนฯ จึงได้มีการพัฒนากลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ขึ้นเพื่อสนับสนุนการทำเกษตรอินทรีย์ในกลุ่มเครือข่ายผลิตพืชอินทรีย์ที่สถาบันฯขับเคลื่อนเพื่อสร้างชุมชนให้เข้มแข็งและสามารถใช้เป็นฐานการเรียนรู้ให้นิสิต ประกอบด้วย 5 อำเภอในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ได้แก่ 1) กลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์และกลุ่มผลิตผักอินทรีย์ชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมด 2) กลุ่มผลิตผักอินทรีย์ชุมชนบ้านทุ่งยาว อำเภอเขาชัยสน 3) กลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์และกลุ่มผลิตเห็ดอินทรีย์ชุมชนดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน 4) กลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์ชุมชนโตนดด้วน อำเภอควนขนุน และ 5) กลุ่มการทำเกษตรผสมผสานระบบอินทรีย์ชุมชนบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม ผลจากการดำเนินการจะเห็นได้ว่าเกษตรกรในชุมชนได้เห็นความสำคัญและกลับมาทำเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คุณภาพของปุ๋ยอินทรีย์เป็นที่ยอมรับและต้องการของสมาชิกกลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ที่มีจำนวนมากกว่า 100 ครัวเรือน จากการสำรวจการดำเนินงานของกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ทั้ง 5 กลุ่ม พบว่าสมาชิกส่วนใหญ่ไม่นิยมผลิตปุ๋ยอินทรีย์ แต่มีความต้องการซื้อปุ๋ยอินทรีย์มาใช้แทนปุ๋ยเคมี กลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์จึงประสบปัญหาไม่สามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้เพียงพอต่อความต้องการได้ ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้มาตรฐานและเพียงพอต่อความต้องการของสมาชิกในชุมชนและขยายผลไปสู่ชุมชนอื่น ๆ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนากระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การบริหารจัดการกลุ่ม และการวางแผนธุรกิจ เพื่อยกระดับกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์สู่วิสาหกิจชุมชนให้สามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อการค้า และส่งเสริมให้ชุมชนทำเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงต่อไป
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 16:17 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงโครงการ การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้สูงอายุในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ปี 2 (ปี 2562)ประเทศไทยมีจำนวนประชากรรวดเร็วมากโดยเป็นผลจากนโยบายการเพิ่มประชากรก่อนปี พ.ศ.2500 จากที่มีประชากรเพียง 20 ล้านคนในปี พ.ศ. 2493 เพิ่มขึ้นเป็น 67.4 ล้านในปี 2555 (สำนักงานประชากรขององค์การสหประชาชาติ, 2555) ผลกระทบจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วดังกล่าวทำให้ประเทศไทยมีการประกาศนโยบายประชากรอย่างเป็นทางการและบรรจุนโยบายการลดอัตราเพิ่มประชากรไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) เป็นครั้งแรก และมีการดำเนินงานตามนโยบายลดอัตราเพิ่มประชากรดังกล่าวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับต่อๆ มา จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) ซึ่งทำให้อัตราเจริญพันธุ์รวมยอดหรือจำนวนการมีบุตรเฉลี่ยของผู้หญิงลดลงจาก 6.3 คนในช่วงปี พ.ศ.2507-2508 เหลือแค่ 1.83 คนในช่วงปี พ.ศ.2543-2548 ซึ่งเป็นระดับที่ต่ำกว่าระดับทดแทนซึ่งกำหนดไว้ที่ 2.1 คน (Replacement Level) จึงทำให้สิ้นสุดนโยบายลดการเพิ่มประชากร อย่างไรก็ตามภายหลังสิ้นสุดนโยบายเพิ่มประชากรแล้ว ผู้หญิงไทยก็ยังคงมีจำนวนบุตรเฉลี่ยน้อยลงอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ รายงานว่าในปี 2553 ผู้หญิงไทยมีจำนวนบุตรเฉลี่ยเหลือแค่ 1.62 ในขณะที่สหประชาชาติคาดประมาณการจำนวนบุตรเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 1.4 เท่านั้น จากผลของนโยบายลดอัตราการเพิ่มประชากรดังกล่าวทำให้ประเทศไทยจะเป็นประเทศแรกในอาเซียนที่จะมีอัตราการเติบโตของประชากรติดลบ โดยสำนักงานประชากรแห่งสหประชาชาติระบุว่า ประเทศไทยจะมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นไปอีกระยะหนึ่ง และจะมีจำนวนประชากรสูงสุดจำนวน 67.9 ล้านคน ในปี พ.ศ.2568 และจำนวนประชากรจะค่อยๆ ลดลง เหลือประมาณ 40 ล้านคนในปี พ.ศ.2643 หรืออีกประมาณ 80 ปีข้างหน้า อย่างไรก็ตาม ข้อมูลการลดลงของจำนวนประชากรในอนาคตนั้นอาจจะยังมีเวลาตั้งรับและปรับนโยบายเพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น แต่สิ่งที่ประเทศไทยกำลังเผชิญแล้วและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปก็คือ ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้ว โดยสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระบุจำนวนผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ในปี พ.ศ.2513 มีจำนวน 1.7 ล้านคน (ร้อยละ 4.9) เพิ่มขึ้นเป็น 8.4 ล้านคน (ร้อยละ 13.2) ในปี 2553 และจะเพิ่มขึ้นเป็น 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ในอีก 30 ปีข้างหน้า หรือ พ.ศ.2583 และข้อมูลจากสหประชาชาติพบว่า ในกลุ่มประเทศอาเซียน ประเทศไทยมีร้อยละของประชากรที่เป็นผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปีสูงเป็นอันดับ 2 รองจากสิงคโปร์ และอัตราการเติบโตของประชากรสูงวัยของไทยจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น 2 เท่าในอีก 15 ปีข้างหน้า ซึ่งผลกระทบจากการมีสัดส่วนผู้สูงอายุจำนวนมาก จะทำให้มีภาระพึ่งพิงทางเศรษฐกิจสูง ประชากรวัยแรงงานจะมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริโภค ครัวเรือนมีภาระหนี้สินสูง มีการออมต่ำไม่พียงพอต่อการใช้จ่ายในยามเกษียณ ภาครัฐจึงต้องนำเงินงบประมาณมาจัดสวัสดิการสังคมให้กับประชากร จนอาจลุกลามเป็นหนี้สินของประเทศส่งผลทำให้ภาวะเศรษฐกิจถดถอยและตกต่ำได้
จากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงประชากรอย่างรวดเร็วดังกล่าว ประทศไทยได้จัดทำแผนประชากร (2555 – 2559) โดยกำหนดวิสัยทัศน์คือ “ประชากรไทยทุกคนเกิดมามีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาทุกช่วงวัยให้สามารถเป็นพลังในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตของประเทศ มีหลักประกันที่มั่นคงพร้อมเข้าสู่สังคมสูงอายุที่มีการจัดสวัสดิการอย่างยั่งยืนโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม” และกำหนดยุทธศาสตร์หลัก 3 ข้อ คือ 1) ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้ประชากรไทยทุกคนเกิดมามีคุณภาพ พร้อมที่จะพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพเมื่อเติบโตขึ้น 2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพประชากรไทยทุกช่วงวัย เพื่อเป็นพลังต่อการเจริญเติบโตของประเทศ และยุทธศาสตร์ข้อที่ 3 คือ ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมประชากรไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุที่มีสวัสดิการทางสังคมอย่างยั่งยืน และในปัจจุบันก็กำลังจัดทำแผนประชากรในการพัฒนาประเทศระยะยาว 20 ปี (พ.ศ.2559 – 2579) เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ด้านประชากรของประเทศไทย
นอกจากนี้จากวิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 คือ “ประชากรไทยทุกคนเกิดมามีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาทุกช่วงวัยให้สามารถเป็นพลังในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตของประเทศ มีหลักประกันที่มั่นคงพร้อมเข้าสู่สังคมสูงอายุที่มีการจัดสวัสดิการอย่างยั่งยืนโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม” และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (2560-2564) ซึ่งเป็นแผนที่สอดคล้องสอดรับอยู่บนพื้นฐานของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) ซึ่งเป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศ และร่วมทั้งยังยึดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ด้วย ซึ่งในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุโดยครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมไว้หลายๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ซึ่งมีเป้าหมายให้ผู้สูงอายุวัยต้นมีงานทำและมีรายได้ที่เหมาะสมกับศักยภาพของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านที่มสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และสถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ จะเห็นได้ว่า ประกอบกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยทักษิณข้อที่ 4 การจัดการบริการวิชาการร่วมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ขับเคลื่อนการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต ความมั่นคง และการพัฒนาในภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของคณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬาข้อที่ 4 บริการวิชาการเพื่อแก้ปัญหาสุขภาวะและยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน และนอกจากนี้ ในปี2561 สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ได้จัดทำโครงการ การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้สูงอายุในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยใช้กระบวนการพัฒนาสุขภาพชุมชน ซึ่งอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกขั้นตอน จนสามารถก่อตั้งชมรมผู้สูงอายุ และมีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ มีการจัดทำข้อบังคับของชมรมฯ และเริ่มเปิดรับสมัครสมาชิกเข้าชมรมผู้สูงอายุ โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ม.ทักษิณ อสม. ผู้ใหญ่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน ตำบลบ้านพร้าม เทศบาลตำบลบ้านพร้าว สำนักงานสาธารณสุขอำเภอป่าพะยอม และรวมทั้งนิสิตชมรมรากแก้ว ม.ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ซึ่งได้รับการก่อตั้งขึ้นมาเพื่อเข้ามาร่วมสานต่อในการพัฒนาสุขภาพของผู้สูงอายุรอบๆ มหาวิทยาลัยทักษิณโดยเฉพาะ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ดังนั้นในปี 2562 สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ จึงได้จัดทำโครงการบริการวิชาการเรื่อง การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้สูงอายุในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ปีที่ 2 ขึ้น โดยใช้กระบวนการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และกระบวนการพัฒนาสุขภาพชุมชนซึ่งเป็นทางเลือกที่ดี เพราะเป็นกลวิธีที่ให้ชุมชนเป็นผู้ระบุปัญหา หาสาเหตุและเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมของชุมชนเอง และนอกจากนี้เป็นการพัฒนาประชาชนในชุมชนให้เรียนรู้และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนในระยะยาวด้วย โดยจัดทำโครงการในพื้นที่หมู่ที่ 1 2 3 8 และ 9 ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม ซึ่งเป็นหมู่บ้านซึ่งมีที่ตั้งติดกับมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ทั้ง 4 ด้าน และที่ผ่านมาภาระการดูแลผู้สูงอายุเป็นบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว ซึ่งเป็นภาระที่ค่อนข้างหนักและส่งผลกระทบในระยะยาวต่อครอบครัวและชุมชนด้วย ดังนั้นในฐานะที่มาหวิทยาลัยทักษิณเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนดังกล่าวจึงควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมกันดูแลผู้สูงอายุในชุมชนด้วย
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 15:37 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาโครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ต.คลองขุด อ.เมือง จ.สตูล (ปี 2562)ในการประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจจังหวัดสตูล (กรอ. จังหวัด) ครั้งที่ 3/2561 วันที่ 22 มิถุนายน 2561 ณ ห้องประชุมโต๊ะพญาวัง ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดสตูล ประธานหอการค้าจังหวัดสตูล ได้นำเสนอโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ตำบลปูยู-ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล โดยได้มีการเสนอโปรแกรมการท่องเที่ยวอเมซิ่ง อันดามัน : เขาจีน ตำมะลัง ปูยู เกาะยาว ตันหยงโป สตูล เพื่อจะใช้การท่องเที่ยวเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัดสตูล แต่ยังขาดข้อมูลความรู้ทางวิชาการของพื้นที่ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และชุมชนเองก็ขาดองค์ความรู้ด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล ขณะที่ตำบลปูยู มีข้อมูลความรู้เกี่ยวกับพื้นที่เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ได้รับความร่วมมือจากสาขาวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณซึ่งเกิดจากการนำนิสิตทั้งในระดับปริญญาโท และปริญญาตรี ศึกษาภาคสนามรายวิชาต่าง ๆ การทำวิจัยของคณาจารย์ การจัดโครงการบริการวิชาการ และ โครงการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรมในพื้นที่ตำบลปูยูต่อเนื่องมากว่า 10 ปี ดังนั้น ประธานหอการค้าจังหวัดสตูล จึงขอความอนุเคราะห์มายังสาขาวิชาภูมิศาสตร์ในการให้ความรู้และกระบวนการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบตามหลักวิชาการให้กับพื้นที่ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
ทางสาขาวิชาภูมิศาสตร์ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการถ่ายทอดความรู้ การบริการวิชาการ และสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นให้ก่อประโยชน์ต่อชุมชน และ สามารถบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชาฯที่เน้นชุมชนเป็นฐาน จึงได้จัดโครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวขึ้น
vettech เมื่อ 29 ต.ค. 2562 15:14 น.
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์บริการวิชาการนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน (ปี 2563)จากโครงการอาสาประชารัฐ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ประเทศไทย คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีเป้าหมาย การพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” ซึ่งโครงการฯ มีวัตถุประสงค์ดังนี้เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถ ออกแบบระบบงานมีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกใน ความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ เช่น ด้านความยากจน ความเหลื่อมล้ำ และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยการสร้างหรือนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมาบูรณาการในการแก้ปัญหา และเพื่อนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีอยู่จำนวนมากในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและจัดการตนเองได้

ในจังหวัดกาฬสินธุ์อาชีพหลักคือเกษตรกร นอกจากการผลิตพืชเศรษฐกิจ แล้วยังคงผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เช่น สุกรขุน ไก่ไข่ ไก่พื้นเมือง ไก่สามสาย ไก่ดำ โคขุนและโคนม แต่สิ่งที่เกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์นั้น ต้องเผชิญอำนาจการต่อรองทางด้าน การซื้อปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูงมีผลต่อต้นทุนการผลิตที่สูงและขาดทักษะเทคนิคการผลิตที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าในปัจจุบันนั้นลูกค้าต้องการสินค้าที่มีความปลอดภัย มีผลทำให้ผลผลิตไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้าจึงทำให้การจัดจำหน่ายผลผลิตนั้นไม่สามารถกำหนดราคาได้เองทำให้ขายผลผลิตได้ในราคาที่ต่ำ จากประเด็นปัญหาดังกล่าวสามารถนำแนวทางห่วงโซ่อุปทานที่เน้นให้กระบวนการดำเนินธุรกิจ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ที่มีการดำเนินงานอย่างสอดคล้อง เพื่อผลิตสินค้าที่ มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป้าหมายเป็นหลัก

จากปัญหาดังกล่าว มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีความพร้อมที่จะนำองค์ความรู้และแนวทางการสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน เนื่องจากมีบุคลากรและนักศึกษาที่มีองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมทางการดำเนินธุรกิจ

และพื้นที่ที่สามารถนำมาเชื่อมต่อให้เกิดเป็นรูปธรรมเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร โดยนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ทุกภาคการศึกษาในรายวิชาการเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีกและนักศึกษาได้ศึกษารายวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อการบริหารสินค้าในธุรกิจค้าปลีก นักศึกษานั้นสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้กับเกษตรกรจังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน ที่นำไปปฏิบัติงานจริง โดยนักศึกษามีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสังสรรค์ สามารถ ออกแบบระบบงานมีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตร่วมกับชุมชนท้องถิ่นของตนเอง
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 14:54 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาโครงการการทำเกษตรแบบผสมผสานเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน (ปี 2561)การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อใช้ประโยชน์ในการทำการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำสวนยางพาราและสวนผลไม้เชิงเดี่ยวที่มีระบบการบริหารจัดการในสวนโดยการใช้ยากำจัดวัชพืช ใช้ปุ๋ยเคมี ทำให้เกิดสารพิษตกค้างในดิน น้ำ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ มีการไถพรวนในแปลงยางพาราทำให้เกิดการชะล้างของตะกอนไปทับถมตามลำห้วยลำธาร ทำให้ไม่สามารถเก็บกักน้ำไว้ได้มากเหมือนเดิม นอกจากนี้บางพื้นที่ยังมีการทำลายป่าต้นน้ำ ส่งผลให้เกษตรกรในชุมชนขาดแคลนน้ำใช้ในยามหน้าแล้ง และนับวันระยะเวลาการขาดแคลนน้ำจะยาวนานเพิ่มขึ้น จากปัญหาดังกล่าว สถาบันปฏิบัติการชุมชนเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยทักษิณ จึงเห็นโอกาสที่จะใช้องค์ความรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงวิธีคิด วิถีทำกิน และการดำเนินชีวิตที่ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติ ด้วยการเสวนาและพูดคุยกลุ่มผู้นำชุมชนและเกษตรกรในพื้นที่เพื่อร่วมคิดในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ น้ำและดินอย่างยั่งยืนของชุมชน จนได้แนวทางแก้ปัญหาที่เป็นข้อสรุปของความคิดเห็นที่สอดคล้องกันคือ การนำระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานมาประยุกต์ใช้กับสวนยางพาราและสวนผลไม้ ด้วยการปลูกไม้ยืนต้นแซมระหว่างแถวของยางพารา และการปลูกผลไม้แบบผสมผสานหลากหลายชนิดพืช ซึ่งจะเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถเพิ่มพื้นที่ป่าให้กับชุมชนและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร อีกทั้งช่วยลดผลกระทบจากปัญหาภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จึงได้จัดโครงคืนป่าให้ผืนดินด้วยวิถีเกษตรผสมผสาน สร้างความเข้มแข็งสู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และโครงการสวนยางพาราเพิ่มป่ารักษ์น้ำ โดยในระยะแรกได้ดำเนินการในพื้นที่ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด ต่อมาได้ขยายผลไปยังตำบลหนองธง อำเภอป่าบอนและตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง สามารถช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ให้กับชุมชนได้ในระดับหนึ่ง เกิดองค์ความรู้ที่สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับนักเรียน นิสิตและชุมชนอื่นๆ จนมหาวิทยาลัยทักษิณได้รับการเชื่อถือศรัทธาจากชุมชน และเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อชุมชนได้อย่างแท้จริงและเห็นผลได้ชัดเจน การดำเนินการส่งเสริมการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ดิน น้ำ ของชุมชน จึงควรทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ชุมชนเกิดความตื่นตัว ยอมรับกรอบคิดการปรับเปลี่ยนวิถีการทำสวนยางพารามาเป็นรูปแบบสวนยางพาราเพิ่มป่ารักษ์น้ำ และการทำสวนผลไม้แบบผสมผสานที่ปลูกไม้ป่าร่วม เพื่อให้เป็นสวนผสมผสานที่สมบูรณ์แบบและมีมูลค่าที่สูงขึ้น มีความมั่นคงทั้งทางด้านรายได้ของเกษตรกร และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
vettech เมื่อ 29 ต.ค. 2562 14:45 น.
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์บริการวิชาการนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจไก่ดำสมุนไพร เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ของชุมชนในบ้านหลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน (ปี 2563)ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ประเทศไทย คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีเป้าหมาย การพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” ซึ่งได้กำหนดโครงการอาสาประชารัฐ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการดังนี้ เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถ ออกแบบระบบงานมีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกใน ความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ เช่น ด้านความยากจน ความเหลื่อมล้ำ และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยการสร้างหรือนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมาบูรณาการในการแก้ปัญหา และเพื่อนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีอยู่จำนวนมากในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและจัดการตนเองได้

อาชีพหลักของเกษตรกรในจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้มีการผลิตพืชเศรษฐกิจ และผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เช่น สุกรขุน ไก่ไข่ ไก่พื้นเมือง ไก่สามสาย ไก่ดำ โคขุนและโคนม แต่สิ่งที่เกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์นั้น ต้องเผชิญอำนาจการต่อรองทางด้านการซื้อปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูงมีผลต่อต้นทุนการผลิตที่สูงและขาดทักษะเทคนิคการผลิตที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าในปัจจุบันนั้นลูกค้าต้องการสินค้าที่มีความปลอดภัยและลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยง จึงทำให้ผลผลิตไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้าทำให้การจัดจำหน่ายผลผลิตนั้นไม่สามารถกำหนดราคาได้เองทำให้ขายผลผลิตได้ในราคาที่ต่ำ จากประเด็นปัญหาดังกล่าวได้นำแนวทางห่วงโซ่อุปทานที่เน้นให้กระบวนการดำเนินธุรกิจ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ที่มีการดำเนินงานอย่างสอดคล้อง เพื่อผลิตสินค้าที่มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป้าหมายเป็นหลัก

จากปัญหาดังกล่าว มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีความพร้อมที่จะนำองค์ความรู้และแนวทางการสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจไก่ดำสมุนไพร เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ ของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน เนื่องจากมีบุคลากรและนักศึกษาที่มีองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมทางการดำเนินธุรกิจและพื้นที่ที่

สามารถนำมาเชื่อมต่อให้เกิดเป็นรูปธรรมเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร โดยนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ จะต้องมีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ทุกภาคการศึกษาในรายวิชาการเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก และนักศึกษาได้ศึกษารายวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อการบริหารสินค้าในธุรกิจค้าปลีก นักศึกษานั้นสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคไก่ดำสมุนไพร เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ ของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจไก่ดำสมุนไพร เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ ของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทานตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน ที่นำไปปฏิบัติงานจริง โดยนักศึกษามีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสังสรรค์ สามารถ ออกแบบระบบงานมีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตร่วมกับชุมชนท้องถิ่นของตนเอง
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 14:35 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงโครงการ การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้สูงอายุในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (ปี 2561)ประเทศไทยมีจำนวนประชากรรวดเร็วมากโดยเป็นผลจากนโยบายการเพิ่มประชากรก่อนปี พ.ศ.2500 จากที่มีประชากรเพียง 20 ล้านคนในปี พ.ศ. 2493 เพิ่มขึ้นเป็น 67.4 ล้านในปี 2555 (สำนักงานประชากรขององค์การสหประชาชาติ, 2555) ผลกระทบจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วดังกล่าวทำให้ประเทศไทยมีการประกาศนโยบายประชากรอย่างเป็นทางการและบรรจุนโยบายการลดอัตราเพิ่มประชากรไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) เป็นครั้งแรก และมีการดำเนินงานตามนโยบายลดอัตราเพิ่มประชากรดังกล่าวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับต่อๆ มา จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) ซึ่งทำให้อัตราเจริญพันธุ์รวมยอดหรือจำนวนการมีบุตรเฉลี่ยของผู้หญิงลดลงจาก 6.3 คนในช่วงปี พ.ศ.2507-2508 เหลือแค่ 1.83 คนในช่วงปี พ.ศ.2543-2548 ซึ่งเป็นระดับที่ต่ำกว่าระดับทดแทนซึ่งกำหนดไว้ที่ 2.1 คน (Replacement Level) จึงทำให้สิ้นสุดนโยบายลดการเพิ่มประชากร อย่างไรก็ตามภายหลังสิ้นสุดนโยบายเพิ่มประชากรแล้ว ผู้หญิงไทยก็ยังคงมีจำนวนบุตรเฉลี่ยน้อยลงอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ รายงานว่าในปี 2553 ผู้หญิงไทยมีจำนวนบุตรเฉลี่ยเหลือแค่ 1.62 ในขณะที่สหประชาชาติคาดประมาณการจำนวนบุตรเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 1.4 เท่านั้น จากผลของนโยบายลดอัตราการเพิ่มประชากรดังกล่าวทำให้ประเทศไทยจะเป็นประเทศแรกในอาเซียนที่จะมีอัตราการเติบโตของประชากรติดลบ โดยสำนักงานประชากรแห่งสหประชาชาติระบุว่า ประเทศไทยจะมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นไปอีกระยะหนึ่ง และจะมีจำนวนประชากรสูงสุดจำนวน 67.9 ล้านคน ในปี พ.ศ.2568 และจำนวนประชากรจะค่อยๆ ลดลง เหลือประมาณ 40 ล้านคนในปี พ.ศ.2643 หรืออีกประมาณ 80 ปีข้างหน้า อย่างไรก็ตาม ข้อมูลการลดลงของจำนวนประชากรในอนาคตนั้นอาจจะยังมีเวลาตั้งรับและปรับนโยบายเพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น แต่สิ่งที่ประเทศไทยกำลังเผชิญแล้วและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปก็คือ ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้ว โดยสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระบุจำนวนผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ในปี พ.ศ.2513 มีจำนวน 1.7 ล้านคน (ร้อยละ 4.9) เพิ่มขึ้นเป็น 8.4 ล้านคน (ร้อยละ 13.2) ในปี 2553 และจะเพิ่มขึ้นเป็น 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ในอีก 30 ปีข้างหน้า หรือ พ.ศ.2583 และข้อมูลจากสหประชาชาติพบว่า ในกลุ่มประเทศอาเซียน ประเทศไทยมีร้อยละของประชากรที่เป็นผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปีสูงเป็นอันดับ 2 รองจากสิงคโปร์ และอัตราการเติบโตของประชากรสูงวัยของไทยจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น 2 เท่าในอีก 15 ปีข้างหน้า ซึ่งผลกระทบจากการมีสัดส่วนผู้สูงอายุจำนวนมาก จะทำให้มีภาระพึ่งพิงทางเศรษฐกิจสูง ประชากรวัยแรงงานจะมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริโภค ครัวเรือนมีภาระหนี้สินสูง มีการออมต่ำไม่พียงพอต่อการใช้จ่ายในยามเกษียณ ภาครัฐจึงต้องนำเงินงบประมาณมาจัดสวัสดิการสังคมให้กับประชากร จนอาจลุกลามเป็นหนี้สินของประเทศส่งผลทำให้ภาวะเศรษฐกิจถดถอยและตกต่ำได้
จากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงประชากรอย่างรวดเร็วดังกล่าว ประทศไทยได้จัดทำแผนประชากรขึ้นในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 2555 – 2559 โดยกำหนดวิสัยทัศน์คือ “ประชากรไทยทุกคนเกิดมามีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาทุกช่วงวัยให้สามารถเป็นพลังในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตของประเทศ มีหลักประกันที่มั่นคงพร้อมเข้าสู่สังคมสูงอายุที่มีการจัดสวัสดิการอย่างยั่งยืนโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม” และกำหนดยุทธศาสตร์หลัก 3 ข้อ คือ 1) ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้ประชากรไทยทุกคนเกิดมามีคุณภาพ พร้อมที่จะพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพเมื่อเติบโตขึ้น 2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพประชากรไทยทุกช่วงวัย เพื่อเป็นพลังต่อการเจริญเติบโตของประเทศ และยุทธศาสตร์ข้อที่ 3 คือ ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมประชากรไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุที่มีสวัสดิการทางสังคมอย่างยั่งยืน และในปัจจุบันก็กำลังจัดทำแผนประชากรในการพัฒนาประเทศระยะยาว 20 ปี (พ.ศ.2559 – 2579) เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ด้านประชากรของประเทศไทย
จากวิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 คือ “ประชากรไทยทุกคนเกิดมามีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาทุกช่วงวัยให้สามารถเป็นพลังในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตของประเทศ มีหลักประกันที่มั่นคงพร้อมเข้าสู่สังคมสูงอายุที่มีการจัดสวัสดิการอย่างยั่งยืนโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม” จะเห็นได้ว่า ให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุโดยครบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ประกอบกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยทักษิณข้อที่ 4 การจัดการบริการวิชาการร่วมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ขับเคลื่อนการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต ความมั่นคง และการพัฒนาในภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของคณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬาข้อที่ 4 บริการวิชาการเพื่อแก้ปัญหาสุขภาวะและยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน ดังนั้นสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ จึงได้จัดทำโครงการบริการวิชาการเรื่อง การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้สูงอายุในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนขึ้น โดยใช้กระบวนการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และกระบวนการพัฒนาสุขภาพชุมชนซึ่งเป็นทางเลือกที่ดี เพราะเป็นกลวิธีที่ให้ชุมชนเป็นผู้ระบุปัญหา หาสาเหตุและเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมของชุมชนเอง และนอกจากนี้เป็นการพัฒนาประชาชนในชุมชนให้เรียนรู้และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนในระยะยาวด้วย โดยจัดทำโครงการในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านศาลาน้ำ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม ซึ่งเป็นหมู่บ้านซึ่งมีที่ตั้งติดกับมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง และที่ผ่านมาภาระการดูแลผู้สูงอายุเป็นบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว ซึ่งเป็นภาระที่ค่อนข้างหนักและส่งผลกระทบในระยะยาวต่อครอบครัวและชุมชนด้วย ดังนั้นในฐานะที่มาหวิทยาลัยทักษิณเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนดังกล่าวจึงควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมกันดูแลผู้สูงอายุในชุมชนด้วย
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 14:03 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาโครงการทักษิณถิ่นยุติธรรม นำยุติธรรมสู่ชุมชน (ปี 2561)ท่ามกลางปัญหาท้าทายหลากหลายที่เป็นอุปสรรคสำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศในระยะยาวก็เป็นที่ตระหนักร่วมกันในทุกภาคส่วนว่าการพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในระยะยาวได้นั้น ประเทศต้องเร่งพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ในทุกด้าน ได้แก่ การเพิ่มการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ซึ่งต้อง ดำเนินการควบคู่กับการเร่งยกระดับทักษะฝีมือแรงงานกลุ่มที่กำลังจะเข้าสู่ตลาดแรงงานและกลุ่มที่อยู่ใน ตลาดแรงงานในปัจจุบันให้สอดคล้องกับสาขาการผลิตและบริการเป้าหมาย และการเปลี่ยนแปลงด้าน เทคโนโลยี รวมถึงการพัฒนาคนในภาพรวมให้เป็นคนที่สมบูรณ์ในทุกช่วงวัยที่สามารถบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงที่เป็นสภาพแวดล้อมการดำเนินชีวิตได้อย่างดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาทุนมนุษย์จากการยกระดับคุณภาพการศึกษา การเรียนรู้ การพัฒนาทักษะ และยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุขให้ทั่วถึงในทุกพื้นที่ พร้อมทั้งต้องส่งเสริมบทบาทสถาบันทางสังคมในการกล่อมเกลาสร้างคนดี มีวินัย มีค่านิยมที่ดีและมีความรับผิดชอบต่อสังคม นอกจากนั้น ในช่วงเวลาต่อจากนี้การพัฒนาต้องมุ่งเน้นการพัฒนาเชิงพื้นที่และเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของเมืองต่างๆ ให้สูงขึ้นภายใต้การใช้มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ลักษณะการใช้ที่ดิน การจัดระเบียบผังเมืองและความปลอดภัยตามเกณฑ์เมืองน่าอยู่ที่เหมาะสมเพื่อกระจายโอกาสทางเศรษฐกิจ และสังคมให้ทั่วถึงและเป็นการสร้างฐานเศรษฐกิจและรายได้จากพื้นที่เศรษฐกิจใหม่มากขึ้น ซึ่งจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำภายในสังคมไทยลงและในขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันจากการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ อย่างไรก็ดี ประเทศไทยยังประสบปัญหาคุณภาพในเกือบทุกด้าน อาทิ คุณภาพคนต่ำทั้งใน ด้านความรู้ ทักษะ และทัศนคติ มีปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรม ประชากรจำนวนไม่น้อยไม่เคารพสิทธิผู้อื่น และไม่ยึดผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นสำคัญ จึงซ้ำเติมปัญหาการขาดแคลนปริมาณกำลังแรงงานในภาวะที่โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นประเทศไทยยังประสบปัญหาคุณภาพบริการสาธารณะ คุณภาพการศึกษาและบริการด้านสาธารณสุขและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบโลจิสติกส์รวมทั้งการบริหารจัดการน้ำยังไม่เป็นระบบโครงข่ายที่สมบูรณ์และการพัฒนามีความล่าช้า โครงสร้างพื้นฐานยังคงมีปัญหาในหลายด้าน อาทิ รูปแบบการขนส่งยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนให้มีประสิทธิภาพได้ตามเป้าหมาย การบริหารจัดการยังขาดเอกภาพ รวมทั้งการให้บริการยังไม่ทั่วถึง ไม่เพียงพอ ไม่มีคุณภาพ กระจุกตัวอยู่ในเมือง และมีราคาค่าบริการค่อนข้างสูง นอกจากนี้กฎหมายที่เกี่ยวข้องยังเป็นอุปสรรคต่อ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมก็นับว่ามีความล่าช้า มีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาน้อยไม่เพียงพอ การวิจัยที่ดำเนินการไปแล้วไม่ถูกนำมาใช้ให้เกิด ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างคุ้มค่าและการพัฒนานวัตกรรมมีน้อย
ปัญหาดังกล่าวข้างต้นส่วนหนึ่งเป็นผลพวงจากปัญหาการบริหารจัดการภาครัฐที่ประสิทธิภาพต่ำ ขาดความโปร่งใส และขาดความรับผิดชอบ และการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาที่ขาดความต่อเนื่อง ในขณะที่ การบังคับใช้กฎหมายยังขาดประสิทธิผลและกฎระเบียบต่างๆ ล้าสมัยไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงธรรมาภิบาล และการบริหารจัดการประเทศยังไม่บรรลุเป้าหมาย แม้ว่าบริการสาธารณะที่จัดให้กับประชาชนและ ภาคเอกชน จะพัฒนาได้เร็วขึ้น แต่เมื่อเทียบกับต่างประเทศประเทศไทยยังมีความล่าช้าและไม่ได้มาตรฐานสากล ประกอบกับภาครัฐมีโครงสร้างที่ใหญ่และซับซ้อนขึ้น มีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง กระบวนการจัดสรรงบประมาณใช้เวลาค่อนข้างนาน ซึ่งไม่ทันกับสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน นอกจากนั้นการใช้จ่ายงบประมาณยังไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าที่ควร ขาดความโปร่งใสและธรรมาภิบาล ในขณะที่คุณภาพของบุคลากรภาครัฐลดลงเนื่องจากการเข้าทำงานในภาครัฐไม่ใช่ทางเลือกแรกของคนที่มีความสามารถหรือการศึกษาที่อยู่ในเกณฑ์ดีเหมือนในอดีต ในขณะที่บุคลากรที่มีความสามารถลาออกจำนวนมากเพราะมีทางเลือกอื่นๆ ที่ดีกว่า สาเหตุสำคัญคือ ภาครัฐขาดการพัฒนาเส้นทางอาชีพที่ชัดเจนและขาดการพัฒนาระบบการฝึกอบรมบุคลากรที่สอดคล้องกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งปัญหาคอร์รัปชั่นได้ขยายวงกว้างทั้งในภาครัฐและเอกชน
ดังนั้น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จึงเกิดแนวคิดในการจัดโครงการทักษิณถิ่นยุติธรรมนำยุติธรรมสู่ชุมชน (รอบรั้วมหาวิทยาลัย) ในการร่วมมือกันทํางานของหน่วยงาน สนับสนุนการพัฒนาภายนอกชุมชนทุกภาคส่วน โดยยึดหลักการใช่พื้นที่เปนตัวตั้งชุมชนเป็นศูนย์กลาง ชาวบ้าน เป็นเจ้าของเรื่อง โดยใช้กระบวนการจัดทําแผนชุมชนเป็นเครื่องมือดําเนินกิจกรรมพัฒนาให้เป็นไปตามความต้องการของชุมชนมากกว่าวัตถุประสงค์ของหน่วยสนับสนุน การบูรณาการมีทั้งบูรณาการด้านกลไก/บุคลากร กระบวนการและเครื่องมือแผนงานและงบประมาณ คนในชุมชนมีส่วนร่วมคิดร่วมทำตั้งแต่ต้นเพื่อแก้ไขปัญหาชุมชนและทุกคนในชุมชนรับประโยชน์ที่เกิดขึ้นร่วมกัน
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 13:44 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาโครงการถ่ายทอดระบบการทำเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงชุมชนเครือข่ายขยายผลสู่ชุมชนบ้านพร้าว ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง (ปี 2561)เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำเนินชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในราชกาลที่ 9 มีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา ปัจจุบันประชาชนได้นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจทุกระดับ สำหรับเศรษฐกิจการเกษตรพบว่าเกษตรกรต้องเผชิญกับความเสี่ยงทั้งภัยธรรมชาติ น้ำท่วมฝนแล้ง เผชิญราคาขึ้นลงของสินค้าที่เกษตรกรไม่ได้เป็นผู้กำหนด ปัจจัยการผลิตที่เกษตรกรต้องซื้อตามราคาที่ถูกกำหนด เผชิญกับการเจ็บไข้ได้ป่วยจากการใช้สารเคมีสังเคราะห์ในการผลิต กล่าวได้ว่ากระบวนการผลิตทางการเกษตรกรส่งผลกระทบทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และด้านสุขภาวะ เกษตรกรจึงจำเป็นต้องยืนอยู่บนหลักเหตุและผล มีการบริหารจัดการที่มีภูมิคุ้มกันตามหลักความพอเพียง
ตลอดระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา สถาบันปฏิบัติการชุมชนเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการมีการสนับสนุนการบริการวิชาการที่ส่งเสริมให้เกษตรกรในชุมชนตะโหมด และชุมชนดอนประดู่ มีการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยยึดหลักการทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อขับเคลื่อนชุมชนให้พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนิสิต และเสริมสร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนแก่ชุมชน มีการร่วมคิดร่วมทำกับชุมชนในการผลิตพืชระบบอินทรีย์ ได้แก่ การผลิตข้าวและผักอินทรีย์ เป็นการให้บริการวิชาการที่ส่งเสริมผลิตสินค้าเกษตรที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สร้างมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับความต้องการของตลาด มีมาตรฐานความปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากการส่งเสริมและร่วมรณรงค์ให้ชุมชนตะโหมดและชุมชนดอนประดู่มีการทำเกษตรอินทรีย์มาอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรเห็นความสำคัญของการการรวมกลุ่มเพราะสามารถเป็นเครื่องมือในการควบคุมการผลิต ทำให้เกิดการต่อรองทางเศรษฐกิจที่เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน จนปัจจุบันชุมชนตะโหมดและชุมชนดอนประดู่มีการจัดตั้งกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์ กลุ่มปลูกผักอินทรีย์ และกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ สามารถเป็นตัวอย่างจริงในชุมชนที่เกษตรกรรายอื่นๆ สามารถเรียนรู้และเห็นผลจริงซึ่งช่วยให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนทัศนคติและสร้างความมั่นใจในระบบเกษตรอินทรีย์ สามารถพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและเป็นฐานการเรียนรู้ในการพัฒนานิสิต
จากการขับเคลื่อนชุมชนให้เข้มแข็งตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นกระบวนการสร้างชุมชนต้นแบบขยายไปสู่ชุมชนเครือข่าย ผลลัพธ์ที่ได้ทำให้มหาวิทยาลัยทักษิณได้รับการเชื่อถือศรัทธาจากชุมชนและสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการปรับเปลี่ยนกระบวนการคิดของชุมชนได้เป็นอย่างดี สำหรับเกษตรกรชุมชนหมู่ที่ 3 ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณรอบรั้วมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง พบว่า ยังประสบปัญหาและยังขาดภูมิคุ้มกันในการประกอบอาชีพทางการเกษตร ยังยึดหลักการทำเกษตรเชิงเดี่ยวที่ใช้ระบบเคมี ทำให้มีต้นทุนการผลิตที่สูงเพราะยังพึ่งปัจจัยการผลิตจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ จากผลการสำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชนบ้านพร้าว ในปีงบประมาณ 2561 สถาบันปฏิบัติการชุมชนเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ จึงมีเป้าประสงค์ที่จะดำเนินการโครงการถ่ายทอดระบบการทำเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงชุมชนเครือข่ายขยายผลสู่ชุมชนบ้านพร้าว โดยพัฒนาชุมชนเครือข่าย ได้แก่ ชุมชนตะโหมดและชุมชนดอนประดู่ เป็นต้นแบบในการขับเคลื่อนกลุ่มผลิตพืชอินทรีย์ชุมชนบ้านพร้าว เป็นการถ่ายทอดกรอบคิดและเทคโนโลยีการผลิตพืชระบบอินทรีย์ที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชน มุ่งเน้นให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนได้อย่างยั่งยืน
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 13:28 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงการพัฒนาชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ปี 2561)จากการที่ฝ่ายวิชาการ สำนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ได้ลงพื้นที่เพื่อจัดประชุมหารือและรับฟังความต้องการหรือโจทย์ปัญญาชุมชนบ้านพร้าว หมู่ที่ 3 เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2560 ณ ศาลาหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง เพื่อใช้เป็นแนวทางการให้บริการวิชาการในลักษณะโครงการบริการเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนโครงการ/กิจกรรมที่เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนพื้นที่รอบมหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาเขตพัทลุง โดยการนำปัญหาและความต้องการความช่วยเหลือจากชุมชน มาเป็นโจทย์ในการจัดกิจกรรมด้านบริการวิชาการ ซึ่งมุ่งเน้นให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนได้ โดยให้มีการบูรณาการในหลายมิติทั้งในด้านพื้นที่เป้าหมาย ผู้ให้บริการ องค์ความรู้ และช่วงเวลาดำเนินการซึ่งให้เป็นไปตามหลักการของพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม คือ ร่วมคิดร่วมทำแบพันธมิตรและหุ้นส่วนเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน และเกิดผลงานวิชาการ ส่งผลกระทบต่อสังคมที่สามารถประเมินได้ นำพาไปสู่การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะต่อไป
นอกจากนี้ ยังมีประเด็นปัญหาและความต้องการของชุมชนบ้านพร้าวหมู่ที่ 3 อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง ที่เกี่ยวพันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในชุมชน เช่น การเลี้ยงกบและการเลี้ยงปลาน้ำจืด เพื่อการเศรษฐกิจ การทำแก๊สชีวภาพจากเศษอาหารหรือของเสียในครัวเรือน การบริหารจัดการด้านการเกษตร เพื่อการบริโภคและเพื่อการจำหน่ายสำหรับเป็นรายได้ในครัวเรือน การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตรใช้ในชุมชน เป็นต้น
คณะวิทยาศาสตร์ จึงเห็นว่าประเด็นปัญหาและความต้องการของชุมชน สามารถดำเนินการแก้ไขได้โดยการใช้องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนไปพร้อมๆ กัน โดยมีนักวิชาการ นักวิจัยและบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญ เป็นพี่เลี้ยงให้คำแนะนำปรึกษาทำให้ชุมชนเกิดความมั่นใจ และไว้วางใจว่าคณะวิทยาศาสตร์ และมหาวิทยาลัยทักษิณเป็นที่พึ่งทางวิชาการสำหรับคนพัทลุงอย่างแท้จริง
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 13:06 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงการส่งเสริมและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมชุมชน (ปี 2561)เทศบาลตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง เป็นหน่วยงานส่วนท้องถิ่นที่มีความพยายามในการแก้ปัญหาเรื่องมูลฝอยในชุมชน เทศบาลตำบลลานข่อย แบ่งเขตการปกครองเป็น 9 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น จำนวน 2,086 ครัวเรือน คิดเป็น 7,122 คน แยกเป็น ชาย 3,567 คน หญิง 3,555 คน เนื้อที่ประมาณ 37,344 ไร่ คิดเป็น 59.75 ตารางกิโลเมตร ตำบลลานข่อยเป็นอีกหนึ่งแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในจังหวัดพัทลุงที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างจังหวัดให้เข้ามาท่องเที่ยวในชุมชนเป็นจำนวนมาก ในปัจจุบันมี สถานประกอบการประเภทโรงแรมและที่พัก ที่ก่อสร้างเสร็จแล้วจำนวน 23 แห่ง คือ ล่องแก่งหนานมดแดง ล่องแก่งหนานท่าส้าน ล่องแก่งชายคลองรีเวอร์ไซด์ ล่องแก่งลานข่อย ล่องแก่งวังไม้ไผ่ ล่องแก่งระฆังทอง ล่องแก่งลุงทันโฮมสเตย์ ล่องแก่งชมดาว ล่องแก่งวังชมพู่ ล่องแก่งนายพล&รีสอร์ท ล่องแก่งหนานชุมพล บ้านพักธาราริน ป่าพะยอมรีสอร์ท สบายดีรีสอร์ท บ้านนายรีสอร์ท แม็คโฮมสเตย์ บ้านบ้านโฮมสเตย์ ริมห้วยรีสอร์ท บ้านพักริมน้ำ บ้านพักริมน้ำ1 บ้านพักริมน้ำ 2 บ้านกลางสวนล่องแก่ง กู๊ดลัคการ์เด้น โดยรายละเอียดแต่ละโรงแรมและสถานประกอบการท่องเที่ยวมีดังนี้ แต่ประเด็นปัญหาที่ทางเทศบาลเป็นกังวลในเรื่องความยั่งยืนของชุมชน คือปริมาณมูลฝอยที่มีปริมาณมาก และการที่ชุมชน สถานประกอบการ และบุคลากรการท่องเที่ยวขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนหรือการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(เทศบาลตำบลลานข่อย, 2558) เทศบาลตำบลลานข่อย (2558) มีการกำหนดเป้าในการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ในแผนพัฒนา 3 ปี (2559-2561) เทศบาลตำบลลานข่อย โดยเทศบาลลานข่อยมุ่งเน้นในเรื่องการจัดการขยะ ขณะนี้มีการดำเนินการก่อสร้างระบบการเผาขยะชุมชนไร้มลพิษ ขนาด 500 กิโลกรัมต่อชั่วโมง แล้วเสร็จและเปิดดำเนินการตั้งแต่เดือน กันยายน 2557 เพื่อกำจัดขยะทั้งหมดในชุมชน ปัจจุบันเทศบาลตำบลลานข่อยมีปริมาณขยะประมาณวันละ 800 กิโลกรัม โดยปริมาณขยะดังกล่าวยังไม่ได้นับรวมปริมาณจากชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นขยะมูลฝอยที่เกิดจากสถานประกอบการประเภทโรงแรมและที่พัก แต่ประเด็นปัญหาที่ทางเทศบาลประสบอยู่คือปัญหาการขาดความร่วมมือในการคัดแยกขยะจากสถานประกอบการดังกล่าว ขยะที่เก็บขนได้ เป็นขยะรวมที่ไม่มีการคัดแยก เมื่อนำมาเผาทำลายต้องใช้พลังงานสูง ส่งผลต่อต้นทุนเชื้อเพลิงในการเผามูลฝอย และการบริหารจัดการของเทศบาล (เสนอ รอดเรืองฤทธิ์, 2558) การมีส่วนร่วมของสถานประกอบการในการคัดแยกขยะจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนเทศบาลลานข่อย เพื่อให้การดำเนินงานด้านการจัดการขยะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เทศบาลลานข่อยมีความจำเป็นที่จะต้องทราบปัจจัยที่จะส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะของสถานประกอบการและเทศบาลลานข่อย หากไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบการ หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีปัญหาในการบริหารจัดการ มีขยะตกค้างในชุมชน อาจจะเป็นประเด็นปัญหากระทบธุรกิจการท่องเที่ยวของชุมชนในอนาคตได้
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 29 ต.ค. 2562 11:50 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงการจัดการขยะอินทรีย์จากครัวเรือน ด้วยระบบบ่อหมักก๊าซชีวภาพ (ปี 2561)การลดรายจ่าย แบบเกิดจากกระบวนที่สร้างความเชื่อมั่น ซึ่งปัจจุบันปัญหาของขยะอินทรีย์เป็นปัญหาที่สำคัญอีกปัญหาหนึ่ง โดยปัญหาที่เกิดขึ้นมีผลมาจากหลายสาเหตุ ส่วนหนึ่งที่เกิดจากบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ซึ่งขยะในครัวเรือนประมาณ 40-50% นั้นจะเป็นขยะที่สามารถเน่าเสียได้ มีผลให้เกิดความเน่าเสียส่งกลิ่นเน่าเหม็น มีผลให้การจัดการขยะอื่นๆ มีความยุ่งยากมากขึ้นอีก และจากปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลให้รัฐบาลจะต้องเสียค่าใช้จ่าย เพื่อเป็นงบประมาณในการจัดการขยะในแต่ละปีค่อนข้างสูง ดังนั้นแนวทางหนึ่งที่มีต้นทุนต่ำ และมีการจัดการที่ไม่ยุ่งยาก และไม่ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อการจัดการขยะอื่นๆ คือ การจัดการกำจัดในแต่ละครัวเรือน ด้วยกระบวนการหมักแบบไร้อากาศ เทคโนโลยีการกำจัดของเสียแบบไร้อากาศ (Anaerobic Digestion) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่นำมาใช้การบำบัดของเสียอินทรีย์ที่ให้ก๊าซชีวภาพเป็นผลพลอยได้ ก๊าซชีวภาพโดยทั่วไปเป็นก๊าซผสม ประกอบไปด้วยก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S) เป็นต้น ซึ่งก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของก๊าซชีวภาพโดยก๊าซมีเทนนี้จะถูกนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การหุงต้มประกอบอาหารภายในครัวเรือนแล้วผลพลอยได้จากการทำก๊าซชีวภาพอย่างหนึ่ง ก็คือน้ำหมักชีวภาพซึ่งเกิดจากการหมักของเสียอินทรีย์ สามารถนำมาเป็นน้ำปุ๋ยอินทรีย์ใช้ในการเพิ่มสารอาหารให้แก่พืชและช่วยในการลดใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ได้อีกด้วย จะเห็นได้ว่าการจัดการขยะอินทรีย์ด้วยแนวทางการหมักแบบไร้อากาศ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อครัวเรือนถึงสามต่อด้วยกันคือ ได้รับก๊าซชีวภาพซึ่งสามารถนำไปใช้ทดแทนก๊าซหุงต้มในครัวเรือนได้ ช่วยลดต้นทุนการใช้ก๊าซ LPG ที่กำลังมีราคาแก๊สต่อถังสูงขึ้นทุกช่วงเวลา หากชาวบ้านมีแหล่งพลังงานทดแทนแก๊ส LPG และแหล่งพลังงานทดแทนนั้นชาวบ้านสามารถผลิตได้เอง จะช่วยให้ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านดีขึ้น ลดรายจ่ายของครอบครัว ลดการใช้พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ทั้งในส่วนของก๊าซ LPG และน้ำมันดีเซลในการขนส่งก๊าซหุงต้ม LPG และช่วยลดปัญหาของเสียอินทรีย์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของชุมชน
ดังนั้นการนำของเสียอินทรีย์มาผลิตก๊าซชีวภาพ จึงสามารถช่วยให้ครัวเรือนลดการใช้พลังงานในรูปแบบเดิมได้มาก ได้แก่ ลดการใช้แก๊สหุงต้ม และลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการขนส่งแก๊สหุงต้มเป็นการสร้างตัวอย่างความสำเร็จในการจัดการของเสียด้วยการผลิตก๊าซชีวภาพ และเป็นแนวทางที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหาเรื่องของขยะอินทรีย์ สร้างความมั่นคงในการใช้พลังงานให้เกิดการเรียนรู้หรือเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน และยังสามารถสร้างบ้านนำร่องเป็นตัวอย่างของการสร้างต้นทุนพลังงานในชุมชนด้วยของเสียในชุมชนของตนเอง
tippawan เมื่อ 29 ต.ค. 2562 09:42 น.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพรการใช้เปลือกเมล็ดกาแฟหมักลดต้นทุนอาหารหยาบในโคนม (ปี 2563)ในอดีตแถบภาคใต้ตอนบน เกษตรกรจะมีการปลูกปาล์มและยางพารากันมาก ส่วนสัตว์จะเลี้ยงแพะเพียงบางพื้นที่ ซึ่งยังไม่มีการเลี้ยงโคนม แต่แล้วเมื่อปี 2534 ได้เกิดวาตภัยพายุไต้ฝุ่นเกย์พัดขึ้นแถบภาคใต้ตอนบน คือ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ บางสะพานน้อย บางสะพาน และจุดศูนย์กลางอยู่ที่อำเภอท่าแซะ และปะทิว จังหวัดชุมพร ซึ่งพายุเกย์ส่งผลให้บ้านเรือนเสียหาย ทำนบและฝายพัง พื้นที่การเกษตรเสียหาย 80,900,105 ไร่ และสัตว์เลี้ยงตาย 83,490 ตัว โดยประเมินความเสียหาย 11,257 ล้านบาท
ต่อมาปี 2535 รัฐบาลได้มีโครงการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบวาตภัยพายุใต้ฝุ่นเกย์ โดยมีโครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคนมในจังหวัดชุมพร ให้เกษตรกรมีงานทำ โดยให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเป็นผู้ดำเนินการให้สินเชื่อแก่เกษตรกรเพื่อนำเงินไปซื้อแม่พันธุ์โคนม โดยจัดตั้งเป็นกลุ่มสมาชิก
ร่วมโครงการ 2 อำเภอ คือ อำเภอปะทิว และอำเภอท่าแซะ ซึ่งมีสมาชิกจำนวน 109 ราย ต่อมาปี 2541 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ได้ทรงรับสหกรณ์โคนมจังหวัดชุมพรไว้ในโครงการ
ส่วนพระองค์ โดยได้พระราชทานที่ดินซึ่งตั้งอยู่ ต.ท่าแซะ อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร เพื่อสร้างศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ขนาด 6 ตันต่อวัน พร้อมอุปกรณ์ จากนั้น ได้สร้างโรงแปรรูปน้ำนมกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เพื่อแปรรูปน้ำนมดิบของสหกรณ์โคนมจังหวัดชุมพร และสหกรณ์จังหวัดใกล้เคียง ซึ่งโรงแปรรูปน้ำนมอยู่ในพื้นที่
ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร
โดยตั้งอยู่ ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร เพื่อแปรรูปน้ำนมดิบ และส่งจำหน่ายแก่ผู้บริโภคและส่งโรงเรียนต่าง ๆ
ในภาคใต้ และภาคกลาง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2538 ตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีนโยบายขยายการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาค
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อผลิตบัณฑิตและบุคลากรในระดับปริญญาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณเป็นมาตรฐาน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยแผนพัฒนาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร (พ.ศ. 2555-2564)
มีปรัชญา คือ การศึกษา เกษตร อาหาร และพลังงาน เป็นรากฐานของชีวิตที่ยั่งยืน และมีปณิธาน คือ มุ่งมั่นจัดการศึกษาด้านเกษตร อาหาร พลังงาน เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน และมีวิสัยทัศน์ คือ
เป็นสถาบันอุดมศึกษาอันดับ 1 ของภาคใต้ทางเทคโนโลยีการเกษตร อาหาร และพลังงาน ในปี พ.ศ. 2564
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร ได้เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรสัตวศาสตร์ และได้มีงานฟาร์มโคนมควบคู่ไปกับหลักสูตร โดยในหลักสูตรสัตวศาสตร์ จะมีวิชาบังคับ คือ การผลิตโคเนื้อและโคนม โรคสัตว์และการจัดการระดับฝูง และโภชนศาสตร์สัตว์ และมีวิชาเลือก คือ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และวิทยาศาสตร์น้ำนม ซึ่งวิชาดังกล่าว จำเป็นต้องใช้ฟาร์มโคนมเป็นส่วนหนึ่งในการสอนภาคปฏิบัติ โดยให้นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้ปฏิบัติจริง อีกทั้งบุคลากรในวิทยาเขตฯ สามารถทำการวิจัยพัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านโคนม ไปสู่เกษตรกรและผู้สนใจได้
การเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้องโดยเฉพาะโคนมในประเทศไทย ได้มีการพัฒนาและปรับปรุงด้วยการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทราบกันดีอยู่แล้วว่า ต้นทุนของการผลิตสัตว์ส่วนใหญ่เป็นค่าอาหารสัตว์ ประมาณ 50 - 80 % โดยขึ้นกับชนิดของอาหารและการจัดการด้านอาหารในแต่ละฟาร์ม ซึ่งโคจะกินอาหารหยาบเป็นหลัก คือ หญ้าชนิดต่างๆ และในช่วงฤดูกาลแล้งซึ่งขาดแคลนหญ้า ซึ่งเกษตรกรจะใช้วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร หรือวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมมาเลี้ยงโค ในแถบภาคใต้ตอนบน พบว่ามีวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น จุกใบสับปะรด และวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมาก เช่น กากปาล์มน้ำมัน และเปลือกกาแฟ
กาแฟ (Coffee) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coffea Arabica L. มีหลายชนิดสาคัญทางเศรษฐกิจ โดยทั่วไปจะอาศัยพื้นฐานจาก 3 สายพันธุ์หลักคือ พันธุอาราบีก้า มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coffea Arabica พันธุโรบัสต้า
มีชื่อวทยาศาสตร์ว่า Coffea Canephora หรือ Coffea Robusta และพันธุ์ลิเบอริกา มีชื่อวิทยาศาสตร์
ว่า Coffea Liberica กาแฟจัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลางสูงประมาณ 3-5 เมตร ลาต้นของกาแฟมีลักษณะตั้งตรง กิ่งจะขนานไปกับระดับพื้นดินหรือห้อยต่าลงดินซึ่งเป็นที่เกิดของดอกและผลต่อไป ดอกของกาแฟจะออกเป็นจานวนมาก แต่จะมีการติดผลเพียง 16-26 % เท่านั้น ลักษณะของผลกาแฟจะคล้ายลูกหว้า ภายในผลจะ
แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งมีเมล็ดกาแฟ 1 เมล็ด เมล็ดกาแฟเป็นส่วนที่อยู่ในกะลาซึ่งห่อหุ้มด้วยเยื่อบางๆ อีกชั้นหนึ่ง ส่วนเนื้อกาแฟจะถูกห่อหุ้มด้วยกะลากาแฟเมื่อสุกจะเป็นสีแดง โดยแบ่งพันธุ์ที่ปลูก คือ
1. อาราบีก้า (Arabica หรือ Coffee Arabica)
เป็นพันธุ์ที่คนไทยนิยมมากที่สุด มีลักษณะเด่นที่มีกลิ่นและรสชาติหอมหวานเป็นที่นิยมของ
คนทั่วโลก มีรสชาติที่กลมกล่อมไม่ขม และมีกาแฟอีนน้อยประมาณ 1-1.6% ต่อน้าหนัก ลักษณะเฉพาะ
ของเมล็ดกาแฟอาราบีก้าจะมีทรงเรียว มีกลิ่นหอม
2. โรบัสต้า (Robusta หรือ Coffee Sobusta)
เป็นพันธุ์กาแฟที่ทนทานต่อโรคและสภาพดินฟ้าอากาศ แต่มีรสชาติและกลิ่นเข้มกระด้าง ไม่อ่อนละมุนเหมือนกาแฟอาราบีก้า มีคาแฟอีน 2-3 % ต่อน้าหนัก และเนื่องจากมีรสชาติเข้มทาให้กาแฟโรบัสต้าเป็นที่นิยมในการผลิตกาแฟสาเร็จรูป หรือกาแฟพร้อมดื่ม เช่น กาแฟกระป๋อง ลักษณะเฉพาะของเมล็ดกาแฟโรบัสต้า จะอ้วนกลม กลิ่นฉุนเหมือนเมนทอล ให้รสชาติที่เข้มข้น ในกาแฟโรบัสต้ามีปริมาณแทนนิลมากกว่ากาแฟอาราบีก้า นิยมปลูกมากใน จังหวัดชุมพร และนครศรีธรรมราช 2
ผลและเมล็ด
ผลของกาแฟมีลักษณะคล้ายลูกหว้า รูปรี ก้านผลสั้น ผลดิบสีเขียว เมื่อเวลาผลสุกจะมีสีเหลือง สีส้ม สีแดง ผลของกาแฟจะแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1. เปลือก (Skin) 2. เนื้อ (Pulp) มีสีเหลือง เมื่อสุกมีรสหวาน
3. กะลา (Parchment) จะห่อหุ้มเมล็ด ช่วงระหว่างเมล็ดกับกะลาจะมีเยื่อบางๆ หุ้มเมล็ดอยู่เรียกว่า เยื่อหุ้มเมล็ด (Silver Skin) ผลกาแฟแต่ละผลจะมี 2 เมล็ดประกบกัน ด้านที่ประกบกันจะอยู่ด้านในมีลักษณะแบน
มีร่องบริเวณกลางเมล็ด 1 ร่อง ส่วนด้านนอกมีลักษณะโค้ง ลักษณะเมล็ดจะเป็นเดี่ยวหรือเมล็ดโทน
(Pea Bean, Pea Berry) ในบางครั้งหากการผสมเกสรไม่สมบูรณ์ จะทาให้ผลติดเมล็ดเพียงเมล็ดเดียว
ผลกาแฟมีเมล็ดเพียงเมล็ดเดียวรูปร่างกลมรีทั้งเมล็ด โดยมีร่องบริเวณกลางเม็ด 1 ร่อง
ตารางที่ 1 แสดงองค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดกาแฟ
องค์ประกอบทางเคมี กะลากาแฟ (%) เนื้อกาแฟ (%)
โปรตีน 8-11 4-12
ลิพิด 0.5-3 1-2
คาร์โบไฮเดรต 58-85 45-89
คาเฟอีน 1 1
แทนนิน 5 1-9
แร่ธาตุ 3-7 6-10
น้ำตาลซูโครส 12 12

สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร (2562) รายงานว่า ปี 2561 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกาแฟทั้งหมด 272,797 ไร่ โดยให้ผลผลิตทั้งหมด 23,617 ตัน ซึ่งภาคใต้มีพื้นที่ปลูกมากที่สุด เท่ากับ 181,137 ไร่ โดยให้ผลผลิต 13,327 ตัน โดยชุมพร มีพื้นที่ปลูกกาแฟมากที่สุดของประเทศ เท่ากับ 124,463 ไร่ รองลงมา
คือ ระนอง เท่ากับ 53,571 ไร่ และเชียงราย เท่ากับ 40,520 ไร่ และ โดยผลผลิตมากที่สุดของประเทศ
คือ ชุมพร เท่ากับ 8,802 ตัน รองลงมา คือเชียงราย เท่ากับ 4,922 ตัน และ ระนอง เท่ากับ 4,325 ตัน
ในปี 2561 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานว่า ประเทศไทยมีโคนม 660,155 ตัว ผลิตน้ำนมได้ 1,233,482 ตัน ต่อปี โดยค่าเฉลี่ยน้ำนม เท่ากับ 12.23 กิโลกรัม ต่อตัว ต่อวัน และจังหวัดชุมพรมีโคนม
1,258 ตัว ผลิตน้ำนมได้ 6,121 ตัน ต่อปี โดยในปี 2561 ประเทศไทยมีการนำเข้าผลิตภัณฑ์นม 245,800 ตัน เป็นมูลค่า 19,930 ล้านบาท ซึ่งจะเห็นว่า การผลิตโคนม ในการบริโภคภายในประเทศยังมีความต้องการสูง ฉะนั้น ประเทศไทยควรที่จะลดการนำเข้าผลิตภัณฑ์จากโคนม และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโคนมในประเทศ
ฉะนั้น การใช้เปลือกเมล็ดกาแฟหมัก นอกจากจะเป็นการเพิ่มคุณค่าในอาหารหยาบแล้ว ยังเป็น
การทดแทนอาหารหยาบแก่โคในช่วงขาดแคลน โดยใช้วัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมเป็นอีกทางเลือกของอาหารโค
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 28 ต.ค. 2562 15:39 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ในชุมชน (ปี 2561)หลักสูตรศิลปะการออกแบบ สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เห็นความสำคัญของการฝึกฝนทักษะทางด้านปฏิบัติทางการออกแบบกราฟฟิก เพื่อใช้ในการสร้างเสริมประสบการณ์เรียนรู้ทางด้านการออกแบบ จึงได้จัดการอบรมและฝึกปฏิบัติการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์บุคคลทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ต้องการการพัฒนาด้านรูปแบบทางด้านบรรจุภัณฑ์เพื่อการแข่งขันในตลาดให้มีความทัดเทียมกับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ จึงสนับสนุนให้บุคคลทั่วไป เยาวชน นักเรียน นักศึกษาและบุคคลที่สนใจการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ เพื่อพัฒนาทักษะ ความสามารถ ความชำนาญทางการออกแบบให้มีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นกำลังในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและเป็นการเผยแพร่ศักยภาพทางด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยทักษิณ ให้เป็นที่ประจักษ์และรู้จักกันอย่างแพร่หลาย
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 28 ต.ค. 2562 15:12 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงโครงการหนึ่งคณะ หนึ่งชุมชน ระยะที่ 3 (ปี 2560)จากผลสำเร็จของการดำเนินโครงการหนึ่งคณะ หนึ่งชุมชน ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2558 ถึงปัจจุบัน โดยมีชุมชนตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก โดยได้รับความร่วมมือจากชุมชนตะแพนเป็นอย่างดี และกิจกรรมส่วนใหญ่ที่จัดขึ้นล้วนมาจากผลความต้องการของชุมชน ที่อยากให้คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ดำเนินการช่วยเหลือ และในปี พ.ศ.2560 คณะวิทยาศาสตร์ ยังรับผิดชอบดูแลและเป็นพี่เลี้ยงด้านบริการวิชาการให้กับพื้นที่ชุมชนตะแพน อย่างที่ผ่านมา ซึ่งจะสนับสนุนงานด้านการจัดการเรียนการสอนที่ใช้ชุมชนเป็นห้องเรียนด้านวิทยาศาสตร์ โดยเป็นการบูรณการระหว่างโครงการบริการวิชาการและงานด้านการเรียนการสอนตามยุทธศาสตร์
โดย พ.ศ. 2560 คณะวิทยาศาสตร์ มีแผนจัดกิจกรรมให้กับชุมชนตะแพนอย่างต่อเนื่องเป็นระยะที่ 3 โดยกำหนดแผนการดำเนินงานไว้ 2 ปี ได้แก่
ระยะที่ 3 ปีที่ 1 พ.ศ. 2560 ส่งเสริมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน โดยมุ่งเน้นในกลุ่มสถานศึกษา ในชุมชนตะแพน ประกอบด้วย โรงเรียนวัดตะแพน โรงเรียนวัดสวนโหนด และโรงเรียนตะแพนพิทยา โดยคณะวิทยาศาสตร์ จะดำเนินการจัดทำแผนกิจกรรมประจำปี เพื่อกำหนดทิศทางการให้บริการวิชาการอย่างเป็นระบบ และส่งเสริมให้มีการบูรณาการการจัดกิจกรรมร่วมกับงานการเรียนการสอนในรายวิชาของคณะวิทยาศาสตร์
โดยใน ปี พ.ศ. 2560 คณะวิทยาศาสตร์ ต้องการศึกษาชุมชนคู่เทียบด้านบริการวิชาการ ระหว่างชุมชนตะแพน และชุมชนลานข่อย โดยคณะวิทยาศาสตร์ จะขยายงานไปยังชุมชนลานข่อย อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง โดยการลงพื้นที่พบปะและชี้แจงความเป็นมาของโครงหนึ่งคณะ หนึ่งชุมชน และการสำรวจปัญหาและความต้องการที่อยากให้มหาวิทยาลัยช่วยเหลือ แบ่งประเภทปัญหา 5 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการเกษตร และด้านการศึกษา เพื่อสรุปประเด็นปัญหาและคัดเลือกปัญหาที่คณะวิทยาศาสตร์สามารถบรรเทาแก้ไขโดยใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระยะที่ 3 ปีที่ 2 พ.ศ. 2561 คณะวิทยาศาสตร์ มีนโยบายจะส่งเสริมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมแบบครบวงจร โดยใช้การเชื่อมโยงกิจกรรมในระยะที่ 3 ปีที่ 1 จากผลการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อมโรงเรียนในชุมชนตะแพน ขยายงานการจัดการสิ่งแวดล้อมไปยังชาวบ้าน ประชาชนในชุมชน เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนตระรู้และเห็นประโยชน์ในการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อันจะเป็นผลทำให้ชุมชนเกิดการพัฒนาทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยการนำหลักการทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อมมาปรับใช้ในชุมชนตะแพน
หลังจากการดำเนินกิจกรรมตามแผนทั้ง 2 ปีแล้ว คณะวิทยาศาสตร์ จะดำเนินการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกำหนดทิศทางด้านการบริการวิชาการ สำหรับชุมชนภายในเขตพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย โดยส่งเสริมให้ชุมชนตะแพน เป็นชุมชนกรณีศึกษาตัวอย่างด้านบริการวิชาการ และสนับสนุนให้เป็นชุมชนต้นแบบในด้านการบริการวิชาการต่อไป
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 28 ต.ค. 2562 14:41 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาโครงการ ถ่ายทอดระบบการทำเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงชุมชนตะโหมด และขยายผลสู่ชุมชนดอนประดู่ (ปี 2560)ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา สถาบันปฏิบัติการชุมชนเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ สภาลานวัดตะโหมด
และกลุ่มเกษตรกรทำนาตะโหมด ร่วมกันจัดตั้งกลุ่มทำนาอินทรีย์ในชุมชนตะโหมด ได้ใช้วิธีการถ่ายทอดองค์
ความรู้จากงานวิจัยสู่ชุมชน การเป็นที่ปรึกษา รวมทั้งส่งเสริมและร่วมรณรงค์ให้ชุมชนมีการท าเกษตรอินทรีย์มา
อย่างต่อเนื่อง จากเดิมมีจำนวนสมาชิกกลุ่มทำนาอินทรีย์ จำนวน 8 ครัวเรือน พื้นที่นาจ านวน 20 ไร่ ซึ่งจากผล
การดำเนินโครงการบริการวิชาการในปี 2559 ที่ผ่านมา พบว่า มีสมาชิกเข้าร่วมกลุ่มท านาอินทรีย์ชุมชนตะโหมด
เพิ่มขึ้นเป็นจ านวน 27 ครัวเรือน มีการปลูกข้าวในพื้นที่นาต่อเนื่องกันในหมู่ที่ 12 จ านวน 93 ไร่ กระบวนการ
รวมกลุ่มสามารถช่วยให้เกษตรกรชุมชนตะโหมดเห็นความส าคัญในการทำนาข้าวอินทรีย์บนวิถีความพอเพียง
เพราะกลุ่มเปรียบเสมือนเป็นโรงเรียนที่มีครูคอยให้ความรู้ มีการร่วมคิดร่วมทำ ร่วมเรียนรู้พัฒนาเทคนิคและการ
จัดการต่างๆ ที่จะช่วยแก้ปัญหาให้กับเกษตรกร ทำให้เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการคิด กระบวนการ
ปฏิบัติ สามารถปลูกข้าวสังข์หยดได้ผลผลิตที่ไม่แตกต่างจากการทำนาระบบเคมี ซึ่งพบว่าได้ผลผลิตเฉลี่ย 330
กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนี้จากการผลิตข้าวของสมาชิกกลุ่มทำนาอินทรีย์ชุมชนตะโหมดสามารถช่วยลดรายจ่ายด้าน
ปัจจัยการผลิต เกี่ยวกับปุ๋ย พันธุ์ข้าว และการกำจัดศัตรูข้าว โดยเกษตรกรหันมายึดหลักการพึ่งตนเองเป็นส่วน
ใหญ่ เริ่มต้นจากการเปลี่ยนจากการใช้ปุ๋ยเคมีมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกข้าว มีการจัดตั้งกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใน
ชุมชนตะโหมดที่มีการพัฒนาสูตรปุ๋ยอินทรีย์ส าหรับนาข้าวไว้บริการแก่สมาชิก มีการเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง อีกทั้ง
มีการใช้ยาสมุนไพรในการป้องกันกำจัดศัตรูข้าว และความรู้ในการประยุกต์ใช้สิ่งมีชีวิต ได้แก่ ตัวห้ า และตัวเบียน
ส าหรับใช้ในการก าจัดศัตรูข้าวโดยชีววิธี กลุ่มทำนาอินทรีย์ชุมชนตะโหมดจึงถือได้ว่าเป็นกลุ่มเกษตรกรที่ได้
ปรับเปลี่ยนการทำนาเคมีสู่การทำนาอินทรีย์ สามารถเป็นตัวอย่างจริงในชุมชนที่เกษตรกรรายอื่นๆ สามารถเรียนรู้
และเห็นผลจริงซึ่งช่วยให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนทัศนคติและสร้างความมั่นใจในระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ พัฒนา~ 5 ~
ไปสู่การทำเกษตรอินทรีย์บนวิถีความพอเพียง จากการดำเนินการทำนาอินทรีย์ ส่งผลทำให้ชุมชนเห็นความสำคัญ
ของการทำเกษตรอินทรีย์ โดยนำองค์ความรู้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ถ่ายทอดให้กับเกษตรกรในชุมชนตะ
โหมดเพื่อเป็นต้นแบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ในชุมชนตะโหมด เป็นการเพิ่มทางเลือกในการทำเกษตร
อินทรีย์เสริมสร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนแก่ชุมชน
ดังนั้นในปีงบประมาณ 2560 สถาบันปฏิบัติการชุมชนฯ จึงมีเป้าประสงค์ที่จะดำเนินการโครงการถ่ายทอด
ระบบการทำเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงชุมชนตะโหมด และขยายผลสู่ชุมชนดอนประดู่ เพื่อพัฒนากลุ่มทำนา
อินทรีย์ชุมชนตะโหมดให้เข้มแข็งสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเกษตรกร นักเรียน นักศึกษาและผู้ที่สนใจในการ
ทำนา และการเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ ทั้งขยายผลการทำนาอินทรีย์ไปสู่ชุมชนดอนประดู่ โดยร่วมมือกับเทศบาล
ตำบลดอนประดู่ โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร และโรงเรียนต่างๆ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา พัทลุงเขต 2 ส่งเสริมและรณรงค์ให้นักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ ในชุมชนดอนประดู่เห็นคุณค่าและ
ความสำคัญของการทำนาอินทรีย์ ควบคู่กับการพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมระบบการทำนาอินทรีย์เพื่อเป็น
แนวทางในการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตและเพิ่มรายได้ให้กับแก่เกษตรกรชุมชนดอนประดู่ และใช้เป็นแปลง
นาอินทรีย์ตัวอย่างเพื่อขยายผลไปสู่เกษตรกรรายอื่นในชุมชนดอนประดู่ต่อไป
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 28 ต.ค. 2562 14:09 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงผึ้งและการแปรรูปเพื่อสร้างเสริม รายได้ให้ชาวสวนยางและสวนปาล์ม (ปี 2560)พื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังตั้งอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ครอบคลุมพื้นที่ 10 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช 2 อำเภอของจังหวัดพัทลุง และ 1 อำเภอของจังหวัดสงขลา ประกอบด้วย จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้แก่ พื้นที่ทั้งหมดของอำเภอปากพนัง อำเภอชะอวด อำเภอร่อนพิบูลย์ อำเภอเชียรใหญ่ อำเภอหัวไทร อำเภอจุฬาภรณ์ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอพระพรหม พื้นที่บางส่วนของอำเภอลานสกา และอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง ได้แก่ พื้นที่อำเภอควนขนุน และอำเภอป่าพะยอม และจังหวัดสงขลา ได้แก่ อำเภอระโนด รวมทั้งสิ้น 13 อำเภอ 75 ตำบล 599 หมู่บ้าน ประชากร 128,844 ครัวเรือน 606,323 คน เป็นเกษตรกรในเขตโครงการทั้งสิ้น 83,983 ครัวเรือน พื้นที่ทำการเกษตรรวม 1.092 ล้านไร่ รวมพื้นที่ลุ่มน้ำประมาณ 3,100 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,937,500 ประชากรในพื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในอดีตลุ่มน้ำปากพนังเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำของภาคใต้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ ๆ มีความอุดมสมบูรณ์ สามารถปลูกข้าวได้ดี ทำให้มีพื้นที่ในการทำนามากที่สุด แต่เมื่อจำนวนประชากรที่เพิ่มขยายมากขึ้น การใช้ทรัพยากรที่ปราศจากการจัดการที่ดี และการถางป่าที่เป็นต้นน้ำเพื่อการทำสวนยางพาราและสวนผลไม้ ส่งผลให้ความอุดมบูรณ์ลดลง รวมทั้งการประสบปัญหาน้ำท่วม ขาดแคลนน้ำจืด ดินเปรี้ยว น้ำเค็มรุกล้ำ ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพการใช้ที่ดินของเกษตกร เนื่องจากการทำนาไม่ก่อให้เกิดรายได้ที่เพียงพอในการดำรงชีพ เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น เช่น ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และไม้ผล หรือปรับพื้นที่เป็นไร่นา สวนผสม
ภาคใต้ของไทยถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันที่สำคัญของไทยมากที่สุด และเกษตรกรในภาคใต้ส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนยางพารา แต่อาชีพการเกษตรมักประสบปัญหาด้านราคาผลผลิตมีความไม่แน่นอน เพราะกลไกลของตลาดโลก ภาวะวิกฤตของราคายางพาราดังกล่าว ส่งผลให้รายได้ของเกษตรกรชาวสวนยางพาราโดยเฉพาะภาคใต้ลดลง ซึ่งมีผลกระทบต่อเนื่องต่อความเป็นอยู่ของเกษตรกรด้อยลง และภาวะเศรษฐกิจของครัวเรือนมีความฝืดเคืองเพิ่มมากขึ้น ในสถานการณ์เช่นนี้เกษตรกรจึงจำเป็นต้องมีการปรับตัวเพื่อความอยู่รอด ดังนั้นการแสวงหาแหล่งได้จากแหล่งอื่น โดยการพึ่งทรัพยากรของตนที่มีอยู่จึงจะสามารถประคองสถานะเศรษฐกิจของครัวเรือนได้ อย่างไรก็ตาม หากเกษตรกรมีความคาดหวังว่าการแสวงหารายได้จากแหล่งอื่นเพื่อเพียงต้องการพยุงตัวเองให้อยู่รอดในระหว่างที่ราคาตกต่ำเท่านั้น สังคมครัวเรือนก็จะไม่มีภูมิคุ้มกันหากได้รับผลกระทบเช่นเดิม ดังนั้น การสร้างอาชีพเสริมและต่อยอดผลผลิตจนถึงแหล่งตลาดหรือจนถึงมือผู้บริโภคให้แก่เกษตรกรและเพื่อให้เกษตรกรมีได้รายได้เพิ่มขึ้น จึงเป็นหนทางหนึ่งเพื่อความอยู่รอดได้ในภาวะเช่นนี้ และยังเป็นหนทางที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนในอาชีพได้เช่นกัน
การหารายได้ในพื้นที่สวนยางและสวนปาล์ม เช่น การเลี้ยงผึ้งโพรง เป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถทำเป็นอาชีพเสริมรายได้ให้แก่เกษตรกรได้ โดยกิจกรรมดังกล่าวเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สวนยางและยังเป็นการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในธรรมชาติ อีกทั้งวิธีการเลี้ยงผึ้งดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของการทำอาชีพสวนยางของเกษตรกร ซึ่งจากการลงสำรวจพื้นที่และการบริการวิชาการในศาสตร์ต่างๆให้แก่เกษตรกร พบว่า ในพื้นที่หมู่ 3, 5, 6, 9 และ 11 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง มีประชากรส่วนหนึ่งมีอาชีพเสริมโดยการเลี้ยงผึ้งโพรงและชันโรง โดยใช้ชื่อกลุ่มว่า “กลุ่มผู้เลี้ยงผึ้งโพรง และชันโรงตำบลปันแต” จากข้อมูลเบื้องต้น พบว่า การเลี้ยงผึ้งในสวนยางทำได้ไม่ยาก แต่ผู้ที่เลี้ยงจำเป็นต้องมีความรู้ในเบื้องต้นและต้องมีการเรียนรู้เทคนิคการเลี้ยงบางประการเพื่อให้ได้น้ำผึ้งที่มีคุณภาพ เช่น แหล่งน้ำหวานของผึ้ง ซึ่งจากการให้ข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งบอกว่าแหล่งน้ำหวานของผึ้งคือยอดและดอกยางพารา ดังนั้นการเลี้ยงผึ้งในสวนยางจึงเป็นวิถีที่สอดคล้องกับวิถีของการทำสวนยาง และเมื่อเปรียบเทียบวิธีการเลี้ยงผึ้งแบบดั้งเดิม (เลี้ยงแบบธรรมชาติ) ของเกษตรกรจะขายน้ำผึ้งได้น้อยกว่าการเลี้ยงแบบประณีต (มีเทคนิคการเลี้ยง) ซึ่งปัจจุบันพบว่า เกษตรกรที่ใช้วิธีการเลี้ยงแบบประณีตจะสามารถขายผึ้งโพรงได้ขวดละ 500 บาท และชันโรงขวดละ 1,500-2,100 บาท จะเห็นว่าการเลี้ยงผึ้งมีแนวโน้มที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรได้ นอกจากนั้นแล้วผลผลิตจากการเลี้ยงผึ้ง เช่น น้ำผึ้ง รังผึ้ง ขี้ผึ้ง ยังสามารถนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องสำอาง เช่น สบู่น้ำผึ้ง คีมบำรุงผิว อาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่มีส่วนผสมของน้ำผึ้ง หรือเครื่องดื่ม และยาสมุนไพร เเป็นต้น
จากการที่ทีมนักวิจัยดำเนินโครงการวิจัยและโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง มาอย่างน้อย 5 ปี จึงทำให้ทราบความต้องการของเกษตรกรในการเลี้ยงผึ้งและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากผึ้ง ทางหน่วยงานต่าง ๆ ได้ติดต่อมาทางนักวิจัยให้จัดอบรมเรื่องการเลี้ยงผึ้งและการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้ในหลาย ๆ ครั้ง เช่น อบต. ขอนหาด อบต. ลานข่อย และ อบต.การะเกด ดังนั้นในโครงการบริการวิชาการประจำปี 2560 นี้ ทางคณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชนได้ร่วมกับวิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน ดำเนินโครงการ “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงผึ้งและการแปรรูปเพื่อสร้างเสริมรายได้ให้ชาวสวนยางและสวนปาล์มในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง” จึงมีความมุ่งหวังที่จะสร้างจิตสำนึกให้กับเกษตรกรชาวสวนยางและสวนปาล์มให้เข้าใจระบบอาชีพการทำสวนพืชเศรษฐกิจที่มีความยั่งยืน โดยเน้นให้เกษตรกรชาวสวนให้เข้าใจธรรมชาติการผันแปรของราคาผลผลิต และส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรชาวสวนยางและสวนปาล์ม โดยเน้นอาชีพการเลี้ยงผึ้งและการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า ที่มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนและการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เพื่อสร้างงานและสร้างรายได้ในครัวเรือนของประชากรในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 28 ต.ค. 2562 13:28 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเชื้อชีวินทรีย์ กับดักแมลงในการ ป้องกันโรคและแมลงในสวนไม้ผลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตไม้ผลปลอดภัย (ปี 2560)สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง มีความพร้อมด้านบุคลากร เครื่องมือและอุปกรณ์ในการจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในด้านการผลิตพืชปลูกทุกชนิด อีกทั้งพื้นที่ภาคใต้บริเวณรอบมหาวิทยาลัยทักษิณ มีพื้นที่สวนไม้ผลจำนวนมาก ซึ่งประสบปัญหาโรคและแมลงต่าง ๆ ทำให้เกษตรกรไม่สามารถควบคุมคุณภาพการผลิตให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ส่งผลให้ราคาผลผลิตตกต่ำ จึงแก้ปัญหาโดยการใช้สารเคมีในการควบคุมโรคและแมลงต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่สวยงามเป็นที่ต้องการของตลาดและจำหน่ายได้ในราคาสูง แต่ต้องเสี่ยงกับปัญหาสุขภาพและต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มีความตั้งใจในการร่วมแก้ปัญหาและพัฒนาระบบการผลิตไม้ผลปลอดภัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรโดยการลดการใช้สารเคมี ลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้เกษตรกรมีสุขภาพอนามัยที่ดีและผลผลิตที่ได้เป็นผลผลิตที่มีคุณภาพปลอดสารพิษ จึงเสนอโครงการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเชื้อชีวินทรีย์ และการทำกับดักแมลงในการป้องกันโรคและแมลงในสวนไม้ผลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตไม้ผลปลอดภัย เพื่อร่วมแก้ปัญหาดังกล่าวและเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงให้เป็นที่รู้จักแก่สังคมยิ่งขึ้น
thonburi เมื่อ 28 ต.ค. 2562 09:49 น.
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรีอาสาพัฒนาชุมชนกองขยะหนองแขม กรุงเทพมหานคร (ปี 2559)การบริการวิชาการให้กับชุมชนสังคมและประเทศชาติเป็นภารกิจหลักและเป็นบทบาทหน้าที่หลักของสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา โดยมุ่งหวังให้อาจารย์ในระดับมหาวิทยาลัยได้นำความรู้และประสบการณ์ด้านต่างๆ ไปช่วยแก้ปัญหาและช่วยเหลือชุมชนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัยให้มีการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นกว่าเดิม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการประกอบอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และเรื่องอื่นๆ
มหาวิทยาลัยธนบุรีเป็นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอีกแห่งหนึ่งที่ตระหนักถึงความสำคัญในการบริการวิชาการช่วยเหลือพัฒนาชุมชนให้มีความเจริญขึ้นจึงได้มอบหมายให้ฝ่ายพัฒนานักศึกษาไปดำเนินงานบริการวิชาการช่วยเหลือชุมชน โดยฝ่ายพัฒนานักศึกษาได้จัดกิจกรรมพัฒนาอาชีพและเศรษฐกิจให้กับชุมชนโดยการฝึกอบรมการทำกระถางปลูกต้นไม้และพืชผักสวนครัวจากล้อรถยนต์
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 25 ต.ค. 2562 15:46 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาโครงการการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ในชุมชน (ปี 2560)หลักสูตรศิลปะการออกแบบ สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เห็นความสำคัญของการฝึกฝนทักษะทางด้านปฏิบัติทางการออกแบบกราฟฟิก เพื่อใช้ในการสร้างเสริมประสบการณ์เรียนรู้ทางด้านการออกแบบ จึงได้จัดการอบรมแลฝึกปฏิบัติการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์บุคคลทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ต้องการการพัฒนา ด้านรูปแบบทางด้านบรรจุภัณฑ์เพื่อการแข่งขันในตลาดให้มีความทัดเทียมกับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ จึงสนับสนุนให้เยาวชน นักเรียน นักศึกษาและบุคคลที่สนใจการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ เพื่อพัฒนาทักษะ ความสามารถ ความชำนาญทางการออกแบบให้มีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นกำลังในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและเป็นการเผยแพร่ศักยภาพทางด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยทักษิณ ให้เป็นที่ประจักษ์และรู้จักกันอย่างแพร่หลาย
มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ 25 ต.ค. 2562 13:55 น.
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุงโครงการ การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าขมิ้นชันสำหรับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกขมิ้นชัน (ปี 2560)ขมิ้นชัน เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เป็นพืชล้มลุกมีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในของเหง้าขมิ้นชันมีสีเหลืองเข้ม จนถึงสีแสดจัด มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เหง้าของขมิ้นชัน มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ลดการอักเสบ ใช้รักษาโรคผิวหนัง ผื่น คัน โดยการทำเป็นผงผสมน้ำ หรือเอาเหง้าสดฝนน้ำทา สามารถรักษาแผลได้ดี ขมิ้นชันเป็นพืชสมุนไพรพื้นเมืองของแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และกระจายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของโลก ขมิ้นชันที่ปลูกในภาคใต้ พบว่ามีคุณสมบัติที่ดีที่สุด ซึ่งพื้นที่ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่เป็นแหล่งผลิตขมิ้นชันที่สำคัญ จากการทำโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปผลิตผลทางการเกษตรในท้องถิ่น ปี 2558 โดยการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้นได้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปขมิ้นแห้งและขมิ้นผง ซึ่งเป็นการแปรรูปเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาขมิ้นชันจากขมิ้นชันสดที่เก็บรักษาได้ในระยะเวลาสั้น เมื่อนำมาทำแห้งและทำเป็นผงจะทำให้เก็บรักษาขมิ้นชันได้นานและยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการใช้ประโยชน์ของขมิ้นชัน เช่น ยาทาภายนอก ซึ่งรักษาโรคผิวหนัง ผื่นคัน กลาก เกลื้อน รักษาแผลพุพอง สำหรับการใช้ภายใน จะช่วยรักษาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่น อาหารไม่ย่อย ทดแทนการใช้ยาในปัจจุบัน (พนิดา, 2540) สำหรับทางเภสัชวิทยาขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการขับลม เนื่องจากขมิ้นชันมีน้ำมันหอมระเหย ฤทธิ์ในการต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร นอกจากนั้นสามารถนำไปใช้สำหรับเป็นเครื่องสำอางค์หรือเครื่องประทินผิวต่างๆ ที่มีขมิ้นเป็นส่วนผสมได้
อีกทั้งเป็นการช่วยนำตัวอย่างขมิ้นชันที่ปลูกในพื้นที่หมู่ที่ 3 ตำบลลานข่อยไปทำการวิเคราะห์สารเคอร์คูมินอยด์หรือปริมาณสารเคอร์คูมิน (curcumin content) และปริมาณน้ำมันหอมระเหย (volatile oil content) พบว่า มีปริมาณที่สูงเกินค่ามาตรฐานเมื่อเปรียบเทียบกับขมิ้นจากภาคอื่นๆ ดังตาราง
ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์คุณภาพของขมิ้นชันจากแหล่งต่างๆ
ตัวอย่างขมิ้น ปริมาณเคอร์คูมินอยด์ น้ำมันหอมระเหย
ขมิ้นชันตำบลลานข่อย 9.55% w/w 6.50% v/w
ขมิ้นอ้อย ราชบุรี 2.02% w/w 6.50% v/w
ขมิ้นชัน ราชบุรี 6.40% w/w 7.50% v/w
References not less than 5.0% w/w 6.0% v/w
ซึ่งจะเห็นได้ว่าขมิ้นชันที่ปลูกในพื้นที่ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง เป็นแหล่งที่ปลูกขมิ้นที่ได้ผลผลิตที่ดี มีคุณภาพมากอีกแหล่งหนึ่ง แต่เนื่องจากราคาขมิ้นสดตกต่ำ ช่องทางการจำหน่ายน้อยและยังมีการผูกขาดของราคาของพ่อค้าคนกลาง ทำให้เกษตรกรประสบปัญหาการขายขมิ้นชัน ทั้งนี้ทางผู้วิจัยตระหนักว่าการที่ชุมชนมีทรัพยากรที่มีคุณภาพดี แต่การนำไปใช้ประโยชน์ยังน้อยนั้นเป็นการเสียโอกาสในการทำรายได้ให้แก่ชุมชนเป็นอย่างมากซึ่งควรให้การสนับสนุนในแง่ของการปลูกและการแปรรูปให้มากขึ้น ซึ่งปัจจุบันการนำมาใช้ประโยชน์โดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยังไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากยังไม่มีองค์กรหรือหน่วยงานใดที่จะเข้าไปส่งเสริมในการวิจัยและพัฒนา เพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ซึ่งทางคณะผู้วิจัยได้ทำโครงการวิจัยกับทางกลุ่มผู้ปลูกขมิ้นชันเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2559 ในหัวข้อเรื่อง การสำรวจข้อมูลและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพของขมิ้นชันในพื้นที่ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นของเกษตรกรผู้ปลูกในแง่ของการปลูก ปริมาณผลผลิต ปัญหาการเพาะปลูกและการวิเคราะห์สาระสำคัญของขมิ้นชัน คือ ปริมาณเคอร์คิวมินอยด์ และน้ำมันหอมระเหย เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเข้ามาพัฒนาให้กับชุมชนต่อไป อีกทั้งทางคณะผู้วิจัยได้มีการสำรวจความต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกขมิ้นชันในตำบลลานข่อยร่วมกับเทศบาลตำบลลานข่อย พบว่า ความต้องการในลำดับแรกของชุมชนคือต้องการความรู้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ต้องการฝึกปฏิบัติในการแปรรูปขมิ้นชันเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ซึ่งคาดหวังว่าจะทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพได้
ทั้งนี้ทางคณะผู้วิจัย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและปัญหาการใช้ประโยชน์ของขมิ้นชันดังกล่าว จึงมีความสนใจที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการให้กับเกษตรกรตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง และช่วยผลักดันในการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อพัฒนาให้เป็นสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของอำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง และยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้เป็นได้มาตรฐานคุณภาพ ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนต่อไป
avornopat_cmu21 เมื่อ 25 ต.ค. 2562 10:35 น.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ระบบปลูกพืชทดแทน พืชผสมผสาน และคูน้ำคันดิน เพื่อลดการเผาพื้นที่ปลูกข้าวโพด ในชุมชน จังหวัดน่าน (ปี 2562)เกษตรกรรายย่อยที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่สูงโดยเฉพาะพื้นที่ลาดชันของประเทศไทย เช่น พื้นที่จังหวัดน่านหันมาปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพราะมีแรงจูงใจด้านราคาและนโยบายของรัฐบาลและภาคเอกชน ถึงแม้ว่าจะมีต้นทุนและหนี้สินสูง ทั้งนี้ เกษตรกรได้หาวิธีลดต้นทุนการผลิตด้วยการเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกแทนการเช่าที่ดิน ใช้วิธีการเผาเพื่อเตรียมพื้นที่ปลูก ใช้สารเคมีเพื่อร่นระยะเวลาในขั้นตอนการเพาะปลูก และใช้วิธีการเผาเศษพืช ซึ่งการเผามีผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินและทำให้เกิด PM 2.5 แผนงานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาระบบเกษตรเพื่อแก้ปัญหาการเผาไหม้พื้นที่เกษตรกรรมและไฟป่าภาคเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดน่าน” จึงได้ดำเนินงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ ณ หมู่บ้านใหม่ในฝัน ตำบลสะเนียน อำเภอเมือง จังหวัดน่าน โดย มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการปลูกพืชแบบผสมผสานอย่างมีส่วนร่วม ที่เหมาะสมกับพื้นที่ลาดชันในจังหวัดน่าน สามารถลดการเผาไหม้พื้นที่เกษตรกรรมและไฟป่าและเพิ่มรายได้ของเกษตรกร 2) พัฒนาระบบอนุรักษ์ดินและน้ำที่สามารถลดปัญหาการเผา ตะกอนดิน สารเคมีปนเปื้อน และช่วยในการปรับปรุงดิน และ 3) พัฒนากระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้รูปแบบการปลูกพืชแบบผสมผสานอย่างมีส่วนร่วม ที่เหมาะสมกับพื้นที่ลาดชัน เพื่อลดการเผาไหม้พื้นที่เกษตรกรรมและไฟป่าและเพิ่มรายได้ของเกษตรกร
ขั้นตอนการวิจัย มีขั้นตอนดังนี้ 1) ศึกษาข้อมูลสถานการณ์การผลิตจากระบบเกษตร ที่เป็นอยู่ในชุมชนก่อนโครงการ 2) ออกแบบและทดลองการปลูกพืช 3 รูปแบบ ได้แก่ ก) พืชทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คือกล้วยน้ำว้ากับสับปะรด / กล้วยน้ำว้ากับตะไคร้ และสับปะรดกับทานตะวัน ข) ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และคันคูรับน้ำรอบเขา และ ค) ปลูกพืชเหลื่อมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์คือ ถั่วนิ้วนางแดง กับงาดำ และกับงาขี้ม้อน 3) การวิเคราะห์ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบมิติเศรษฐกิจ อาทิ ต้นทุน ผลตอบแทน-กำไร รวมทั้ง มิติสังคมและสิ่งแวดล้อม 4) การประเมินปริมาณการกร่อนดินและการสูญเสียธาตุอาหารจากการกร่อนดิน 5) การวิเคราะห์เปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของดิน และ 6) การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและการบริการทางระบบนิเวศของดินเพื่อหามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมต่อระบบการ เกษตรบนพื้นที่ลาดชัน
ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการปลูกพืชแบบผสมผสานอย่างมีส่วนร่วมที่เหมาะสมกับพื้นที่ลาดชัน เช่น บ้านใหม่ในฝัน สามารถลดการเผาไหม้พื้นที่เกษตรกรรมและไฟป่าและเพิ่มรายได้ของเกษตรกร ได้แก่ ก) การปลูกพืชทดแทน คือ กล้วยน้ำว้าร่วมกับตะไคร้ และกล้วยน้ำว้าร่วมกับสับปะรด ซึ่งในช่วงปรับเปลี่ยน เกษตรกรเริ่มปลูกประมาณ 3 ไร่ขึ้นไป ใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ และไม่มีการเผา ข) การทำคันคูรับน้ำรอบแปลงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งถึงแม้ว่าจะเพิ่มต้นทุนอีกเล็กน้อย แต่สามารถเพิ่มความชื้นในดินได้มากขึ้นและป้องกันการชะล้างของดิน ทั้งนี้ สามารถปลูกไม้ยืนต้น เช่น มะม่วงหรืออะโวคาโด ที่สร้างรายได้เสริม และ ไม่มีการเผา ค) การปลูกพืชผสมผสาน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วนิ้วนางแดง ซึ่งเป็นพืชคลุมดิน ช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน และเพิ่มปริมาณธาตุอาหารหลักของพืช
สำหรับการพัฒนาระบบอนุรักษ์ดินและน้ำที่สามารถลดปัญหาการเผา ตะกอนดิน สารเคมีปนเปื้อน และช่วยในการปรับปรุงดิน ผลการวิจัยพบว่า ในพื้นที่ความลาดชัน 15-30 เปอร์เซ็นต์ การปลูกกล้วยน้ำว้าร่วมกับตะไคร้ หรือการปลูกกล้วยน้ำร่วมกับสับปะรด มีปริมาณการกร่อนดินในระดับที่น้อย (1.83-1.88 ตันต่อไร่ต่อปี) สำหรับพื้นที่ความลาดชัน 30-50 เปอร์เซ็นต์ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยมีคันคูรับน้ำรอบเขา พบว่ามีปริมาณการกร่อนดินในระดับน้อยกว่า (2.24 ตันต่อไร่ต่อปี) เมื่อเทียบกับการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เชิงเดี่ยว (3.28ตันต่อไร่ต่อปี) ในขณะที่ การปลูกพืชทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ กล้วยน้ำว้าร่วมกับสับปะรด หรือ กล้วยน้ำว้าร่วมกับตะไคร้ ช่วยลดปริมาณการกร่อนดิน เหลือเพียงในระดับการสูญเสียดินน้อย 3.6-4.7 ตันต่อปี สำหรับมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการสูญเสียธาตุอาหารหลักในดินในรูปของปุ๋ยเคมี ในพื้นที่ความลาดชัน 30-50 เปอร์เซ็นต์ เมื่อปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ร่วมกับระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้เกิดความสูญเสียมูลค่า 15,480 บาทต่อไร่ ซึ่งน้อยกว่าการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เชิงเดี่ยวซึ่งมีมูลค่า 20,331 บาทต่อไร่ ดังนั้น การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยวิธีปลูกพืชทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชผสมผสาน รวมทั้ง การทำคันคูรับน้ำขอบเขา สามารถลดปริมาณการกร่อนดิน เพิ่มความชื้นในดินได้
ส่วน กระบวนการถ่ายทอดรูปแบบการปลูกพืชแบบผสมผสานอย่างมีส่วนร่วม ที่เหมาะสมกับพื้นที่ลาดชันในจังหวัดน่าน ผลการวิจัยพบว่า การจัดประชุมนำเสนอผลการดำเนินงาน โดยเชิญเกษตรกร 7 ราย มาเล่าประสบการณ์ พร้อมกับนักวิชาการและนักพัฒนาที่ร่วมเป็นคณะนักวิจัย ทำให้มีส่วนได้เสียและผู้นำชุมชน อาทิ นายก อบต. สะเนียน กำนัน นักวิชาการ และเกษตรกรในตำบล ได้รับทราบผลการวิจัย เกิดความมั่นใจในการร่วมกันแนวทางการขยายผลรูปแบบการปลูกพืช และพัฒนาโครงการวิจัยต่อยอดเพื่อพัฒนาด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วยน้ำว้าและสับปะรด รวมทั้งการจำหน่ายต่อไป
จากข้อค้นพบข้างต้น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลที่ต้องการแก้ปัญหาการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และต้องการลดการเผา สามารถสนับสนุนเกษตรกรรายย่อยที่สนใจแก้ปัญหาดังกล่าว เพื่อลดการเผาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และเพิ่มรายได้ โดยเริ่มจากการปลูกพืชทดแทนที่เหมาะสมกับพื้นที่ประมาณ 3 ไร่ การทำคันคูรับน้ำรอบแปลงพืช ตลอดจนการปลูกพืชผสมผสานกับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยร่วมมือกับนักวิชาการ นักพัฒนาจากหน่วยงานของภาครัฐ และแหล่งทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อขยายผลการทดลองไปสู่เกษตรกรที่สนใจในตำบลและอำเภอ
Prakardao.a01 เมื่อ 22 ต.ค. 2562 10:13 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการขยะครบวงจรด้วยกระบวนการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ (ปี 2562)การสร้างเตาเผาชุมชนตำบลป่าแป๋เลือกใช้การเผาไหม้ในเตาเผาแบบตะกรับ (Stoker firing) ซึ่งเป็นวิธีการเผาดั่งเดิมที่นิยมใช้กันมาอย่างช้านาน โดยเฉพาะชุมชนขนาดเล็ก โดยการป้อนขยะเข้าเตาเผาด้วยแรงงานคน (Manual Firing) ระบบการเผาของเตาจะเป็นการเผาไหม้เชื้อเพลิงขณะวางอยู่บนตะกรับเตา มีอากาศส่วนแรกป้อนผ่านจากด้านล่างและอากาศส่วนที่สองป้อนจากด้านบนเหนือเบด การเผาไหม้ในเตาเผาแบบตะกรับ มีข้อดีคือ มีขนาดไม่ใหญ่การควบคุมการเผาได้ง่าย สามารถปิดเตาได้ขณะเผาและสามารถเร่งเตาขึ้นใช้ได้ทันทีใช้พลังงานในการเตรียมเชื้อเพลิงน้อยไม่ต้องมีเครื่องบด
aorthao เมื่อ 18 ต.ค. 2562 16:11 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจากรังไหมและสมุนไพรพื้นบ้าน (ปี 2563)จากการลงพื้นที่เพื่อประกอบวิชากระบวนการเพื่อการพัฒนาสังคมและได้ศึกษา บริบทชุมชน พบว่า ชาวบ้านบ้านปจิกมีฐานะความเป็นอยู่ที่ค่อนข้างยากจน แต่ชาวบ้านมีความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของตนและสามารถที่จะพัฒนาได้และมีความสนใจในการทำผลิตภัณฑ์ที่สามารถทำไว้เป็นเครื่องอุปโภคบริโภคในชุมชนและเป็นวัตถุดิบที่มีในชุมชน ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนเข้มแข็งและเพื่อให้ชุมชนเกิดรายได้จากผลิตภัณฑ์ของชุมชนเอง
THITI เมื่อ 18 ต.ค. 2562 10:41 น.
มหาวิทยาลัยสยามโครงการพัฒนาศักยภาพและสุขภาวะผู้สูงอายุ (ปี 2562)ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนที่จะเกิดจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่ต้องเผชิญคือความเจ็บป่วยและความบกพร่องในการทำงานของร่างกายในทุก ๆ ด้าน รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจ ซึ่งจะก่อให้เกิดรายจ่ายมหาศาลของประเทศ ดังนั้นเพื่อป้องกันและรับมือแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนในการป้องกันการเจ็บป่วย การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและการเตรียมความพร้อมของผู้สูงวัยเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีศักยภาพและมีสุขภาวะที่ดี การดูแลและการรองรับสังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับสถานการณ์และทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ หากไม่มีการเตรียมการรองรับหรือการวางแผนที่ดี จะนำมาสู่การเกิดปัญหาหรือวิกฤติในการดูแลผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์
๑.เพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้แก่ผู้สูงอายุ บุคคลในครอบครัว และชุมชน
๒.เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
๓.เพื่อเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอาย
๔.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรมพัฒนาจิตใจเข้าวัดฟังธรรม กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕.เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้ประชากรผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
๖.เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุได้มีโอกาสแสดงศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
๗.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการรวบรวมและถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับคนในชมชน

กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ
การดำเนินกิจกรรมเป็นหัวใจของชมรมผู้สูงอายุ เป็นข้อบ่งชี้ความสำเร็จของการดำเนินงาน กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ ควรเป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลายสอดคล้องตามความต้องการของสมาชิก ดำเนินการโดยชมรมผู้สูงอายุหรือที่ร่วมดำเนินการกับหน่วยงานหรือองค์กรอื่น ๆ ลักษณะกิจกรรมที่ชมรมผู้สูงอายุอาจดำเนินการได้ มีดังนี้
๑. กิจกรรมทางศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม เป็นกิจกรรมที่ทำกันมาก ได้แก่ การจัดกิจกรรมตามวันสำคัญทางศาสนาและตามวัฒนธรรมประเพณีนิยมของแต่ละท้องถิ่น การร่วมพิธีกรรมทางศาสนา การฟังธรรม ปฏิบัติธรรม ฝึกสมาธิ ร่วมสืบสานวัฒนธรรม
๒. กิจกรรมนันทนาการ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อความสนุกสนาน รื่นเริง ตามโอกาสและความพอใจของสมาชิก เช่น การลีลาศ งานรื่นเริง วันสำคัญต่าง ๆ ของชาติ วันสำคัญทางศาสนา วันเกิด ร้องเพลงพื้นบ้าน เพลงร่วมสมัย เต้นรำ เล่นดนตรี กีฬาในร่ม เกมต่าง ๆ หัวเราะบำบัด ดนตรีบำบัด ศิลปะบำบัด (เช่น ระบายสี พับกระดาษ พิมพ์ภาพ) กิจกรรมประเภทนี้ มักรวมเอาการร่วมรับประทานอาหารเข้าไปด้วย หลังรับประทานอาหารมีการแสดงเล็ก ๆ น้อย ๆ และร่วมกันร้องเพลงตามอัธยาศัย
๓. กิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ได้แก่ การอบรมให้ความรู้ในเรื่องหลักโภชนาการ ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพร่างกายและความสะอาดของผู้สูงอายุ อนามัยของช่องปาก การแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องยาสมุนไพรพื้นบ้าน การรับประทานอาหารให้ถูกสุขลักษณะและวัยสูงอายุ การตรวจสุขภาพประจำปี ฯลฯ
๔. กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา ควรคำนึงถึงความพร้อมของสภาพร่างกาย ความสนใจและความต้องการของผู้สูงอายุที่เข้าร่วม กิจกรรมประเภทนี้เป็นประโยชน์ในทางสุขภาพ ทำได้ทุกชมรม แต่ชมรมจะต้องจัดสถานที่ที่เหมาะสม มีผู้ดำเนินการที่เหมาะสม เช่น รำไม้พลอง รำวงพื้นบ้าน รำวงย้อนยุค จี้กง แอโรบิค โยคะ เปตอง กายบริหาร
๕. กิจกรรมเสริมรายได้ ได้แก่ กิจกรรมที่สมาชิกร่วมกันทำหรือผลิตแล้วนำไปจำหน่ายเป็นการเสริมรายได้ เหมาะสำหรับชมรมในหมู่บ้านที่สมาชิกต้องการเสริมรายได้ เช่น ทำไม้กวาด ผ้าทอ ดอกไม้จันทน์ การทำบายศรี งานฝีมือ ฯลฯ
๖. กิจกรรมเกี่ยวกับศิลปะต่าง ๆ ที่สมาชิกสนใจ เช่น การวาดภาพ งานฝีมือ ฯลฯ เหมาะสำหรับชมรมที่มีสมาชิกที่มีศักยภาพทางศิลปะและรักทางศิลปะ
๗. กิจกรรมท่องเที่ยว ท้ศนศึกษา เนื่องจากผู้สูงอายุมีเวลาว่างมาก การท่องเที่ยวในสถานที่และโอกาสอันควร โดยไปเป็นหมู่คณะ นอกจากจะก่อให้เกิดประโยชน์เรื่องความรักสามัคคีในหมู่คณะแล้ว ยังได้ความรู้ความเท่าทันโลกอีกด้วย
๘. กิจกรรมการกุศล บำเพ็ญประโยชน์ รวมทั้งสาธารณกุศลที่ชมรมสามารถจะช่วยได้ และการกุศลที่ทำแก่เพื่อนร่วมชมรมที่ถึงแก่กรรม หรือการเยี่ยมไข้เมื่อเพื่อนสมาชิกเจ็บป่วย เป็นการแสดงถึงความเอื้ออาทรต่อกัน ที่ทำให้เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะได้มาก ทำให้สมาชิกมีความรู้สึกว่าตนไม่โดดเดี่ยว การช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส การเป็นอาสาสมัครดูแลเด็กและผู้สูงอายุ การรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน เป็นต้น
๙. กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาและความคิด เช่น ดนตรี การอ่าน การประพันธ์บทกลอน การใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ การอบรมความรู้ด้านสิทธิและสวัสดิการของผู้สูงอายุตามกฎหมาย การเรียนรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักชีวภาพ การปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการขยะ การถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
๑๐. กิจกรรมฌาปนกิจสงเคราะห์ เป็นกิจกรรมที่ให้การสงเคราะห์แก่สมาชิกที่ถึงแก่กรรม กิจกรรมประเภทนี้สมาชิกชมรมมีความนิยมค่อนข้างมาก แต่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเงินและระเบียบทางราชการ ชมรมใดจะดำเนินการกิจกรรมประเภทนี้ต้องมีความพร้อมในเรื่องกำลังคน ความรู้ ความเข้าใจ ความซื่อสัตย์สุจริต
tippawan เมื่อ 17 ต.ค. 2562 15:02 น.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวไร่ให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวไร่ชุมโค จังหวัดชุมพร (ปี 2563)คณะนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร ได้นำพันธุ์ข้าวไร่ที่ได้จากการคัดเลือกบริสุทธิ์ 11 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์สามเดือน ดอกขาม ภูเขาทอง เล็บนก เล็บมือนาง นางเขียน นางครวญ นางดำ ดำกาต้นดำ ดำกาต้นเขียว และแม่ผึ้ง ขยายผล
ให้เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวไร่ชุมโค อำเภอปะทิว และเกษตรกรในหลายพื้นที่ของจังหวัดชุมพร
และจังหวัดใกล้เคียงปลูกเพื่อการบริโภคและจำหน่ายในชุมชน (ข้าวกล้องและข้าวขัดขาว กิโลกรัมละ 60 บาท) พันธุ์ข้าวเหล่านี้เป็นพันธุ์ข้าวที่มีศักยภาพ เนื่องจากให้ผลผลิตต่อไร่สูง ทนทานต่อโรค และแมลง มีลักษณะ
การบริโภคที่ผู้บริโภคชื่นชอบ มีทั้งพันธุ์ข้าวเจ้า และพันธุ์ข้าวเหนียวดำ บางพันธุ์มีกลิ่นหอม มีแร่ธาตุ เช่น ธาตุเหล็ก และคุณค่าทางอาหารสูง แต่ประสิทธิภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ยังไม่สามารถที่สร้างมูลค่าเพิ่มที่สามารถนำไปสู่เชิงพานิชย์ได้ และจากการหารือกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวไร่ชุมโคที่ปลูกข้าวไร่ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบัน พบว่า ปัญหาหลักของการปลูกข้าวไร่ คือ ต้นทุนการผลิตสูง (ได้รับผลตอบแทนเมื่อหักต้นทุนต่ำ)
การแปรรูปข้าวไร่ (สีเป็นข้าวกล้องหรือขัดขาว) ร้อยละต้นข้าวต่ำ กล่าวคือเมื่อนำข้าวไร่ที่เก็บเกี่ยวได้มาผ่านกระบวนการสีข้าว เมล็ดข้าวจะแตกหักจำนวนมาก เนื่องจากมีฝนตกชุก ส่งผลให้ราคาในการจำหน่ายลดลง กลุ่มขาดความรู้เรื่องการวางแผนการตลาดและรูปแบบบรรจุภัณฑ์ กลุ่มผู้ปลูกเข้าไร่เข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และเป็นกลุ่มเกษตรกรที่มีฐานะความเป็นอยู่ค่อนข้างยากจน ดังนั้นเพื่อยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวไร่ชุมโคให้สูงขึ้น จำเป็นต้องอาศัยนวัตกรรมเข้ามาใช้ร่วมด้วยเพื่อลดต้นทุนค่าแรงงานและปัจจัยการผลิต เพิ่มคุณภาพข้าว และส่งเสริมการผลิตสินค้าใหม่ที่ให้ผลตอบแทนสูง ในงานวิจัยนี้จึงมีแนวความคิดที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวไร่ โดยการลดต้นทุนการผลิตข้าวไร่ในรูปแบบการจัดการระบบการเขตกรรม การเพิ่มคุณภาพของข้าวไร่ด้วยเทคนิคฟลูอิไดซ์เบดร่วมกับหลอดฮาโลเจน และ
การเสริมสร้างศักยภาพธุรกิจชุมชน ส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนข้าวไร่ชุมโค
ดังนั้นจากวิสัยทัศน์และแนวทางตามยุทธศาสตร์ชาติ ที่ให้สถาบันอุดมศึกษาเป็นหัวใจสำคัญ
ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ดังที่กำหนดไว้ในแผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 โดย
การดำเนินงานผ่านกระบวนการการจัดการเรียนการสอนที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศและการสร้าง
องค์ความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ซึ่งเป็นกลไกสำคัญของ
การขับเคลื่อนประเทศให้สามารถ ลดความเหลื่อมล้ำทั้งทางสังคมและเศรษฐกิจของคนไทยได้อย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร
เขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร ในฐานะเป็นสถาบันการศึกษาที่มีความพร้อมทั้งกลุ่มเกษตรกร (กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวไร่ชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร) สถานที่ นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์และนักศึกษา ต้องการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตข้าวไร่ให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวไร่ชุมโค เพื่อส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็ง
ในอาชีพหรือยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับเกษตรกร สามารถช่วยแก้ไขปัญหาความยากจนได้ ซึ่งนอกจากจะส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนฐานรากแล้วยังช่วยพัฒนาศักยภาพคณาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเกิดทักษะแห่งอนาคตอย่างเป็นรูปธรรมจากการดำเนินโครงการ
ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 12 ก.ย. 2562 06:20 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว (ปี 2558)ชุมชนบ้านทรายขาว ร่วมทำโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ มีเป้าหมายให้ครัวเรือนลดรายจ่าย 500 บาทต่อเดือน มีการพัฒนาศักยภาพโดยการจัดทำบัญชีครัวเรือน การวิเคราะห์หนี้ครัวเรือน และการทำแผนลดรายจ่ายของครัวเรือน เกิดนวัตกรรม ดังนี้
1. “ปลาดุกร้า” มีวิธีการพัฒนา เกิดจากการรวมกลุ่มของคนในชุมชนที่นำเอาสิ่งที่มีในชุมชนมาพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน ผลการพัฒนาพบว่า มีการวางจำหน่ายและมีรายได้เพิ่มจากการแปรรูปปลาดุกร้า
2. “การลดใช้สารเคมีในภาคเกษตร” มีวิธีการพัฒนา การสำรวจข้อมูลโดยสภาผู้นำ กลุ่มเยาวชน และอสม. ดำเนินการโดยออกแบบสำรวจข้อมูลและสำรวจข้อมูลและสำรวจข้อมูลการใช้สารเคมี เรียนรู้เรื่องอันตรายและผลกระทบจากการใช้สารเคมีปลูกผัก เรียนรู้เรื่องสารเคมีมีผลอย่างไรกับร่างกายมนุษย์ สิ่งแวดล้อม เรียนรู้การสารที่เป็นธรรมชาติ/ชีวภาพแทนสารเคมีในกระบวนการทำการเกษตรโดยปราชญ์ชุมชน เรียนรู้ แลกเปลี่ยนกันเองระหว่างครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ ร่วมกันค้นหาปัญหา อุปสรรค ในการลดการใช้สารเคมีในการเกษตร เพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ ผลการพัฒนาพบว่า เกิดกติกาการลดการใช้สารเคมีในการเกษตร เกิดครัวเรือนต้นแบบด้านการลดการใช้สารเคมีอย่างน้อย 10 ครัวเรือน
ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 12 ก.ย. 2562 05:53 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่บ่อกุ้งร้างสร้างสุขบ้านหนองนกไข่ (ปี 2557)บ้านหนองนกไข่มีนากุ้งถูกปล่อยร้างเป็นจำนวนมาก ชาวบ้านได้ร่วมมือกันพัฒนาบ่อกุ้งรกร้างและพื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ โดยแบ่งกลุ่มการทำงานเป็นโซน ร่วมลงแขก ร่วมเรียนรู้ จนเกิดกลุ่มต่างๆ เพื่อการพัฒนาการเกษตรอินทรีย์ มีกติกากลุ่มเป็นกลไกการขับเคลื่อนให้เกิดผลสำเร็จ ดังนี้
1. การปรับเปลี่ยนนากุ้งร้าง โดยการลงแขกช่วยเหลือกัน โดยปรับให้นากุ้งสามารถปลูกผัก และเลี้ยงปลาได้
2. เกิดการทำงานเป็นโซน 3 โซน ได้แก่ หนำหย่อม บางขอน หนองนกไข่ ในแต่ละโซนมีสมาชิก 20 คน ผลัดเปลี่ยนเวียนกันไปช่วยในทุกโซน มีหัวหน้าโซนเป็นผู้จัดการ ชักชวนให้เยาวชนมาร่วมกิจกรรมในทุกวันเสาร์ หมุนเวียนกัน 4 เดือน ในขณะที่ช่วยกันลงแขกปรับพื้นที่นากุ้งร้างได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลผลิตและเล่าเรื่องดี เกิดประโยชน์ในการนำความรู้ของหมู่บ้านมาถ่ายถอดให้เยาวชนและเพื่อนบ้านได้
3. ใช้กติกากลุ่มเกษตรกรอินทรีย์เป็นกลไกการขับเคลื่อนให้หมู่บ้านจัดการตนเองได้ มีความเข้มแข็ง
4. เกิดแกนนำ กลุ่มปลูกผัก กลุ่มเลี้ยงปลา กลุ่มเลี้ยงไก่ กลุ่มเลี้ยงปูดำ กลุ่มเก็บพริก กลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ กลุ่มเลี้ยงไก่พื้นเมือง กลุ่มน้ำยาเอนกประสงค์ กลุ่มนาอินทรีย์ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ เกิดเครือข่ายชมรมคนรักษ์สมุนไพรอำเภอหัวไทร
5. กลุ่มเลี้ยงปลาได้แปรรูปปลาเป็นปลาร้า ปลาแดดเดียว ปลาเปรี้ยว ปลาเค็ม จำหน่ายในตลาดชุมชน
6. เกิดต้นแบบครัวเรือนพอเพียง ต้นแบบปุ๋ยหมัก ต้นแบบน้ำยาเอนกประสงค์ ต้นแบบเลี้ยงไก่ไข่ ต้นแบบผักปลอดสารพิษ
7. ผลที่เกิดขึ้นคือ พื้นที่บ่อร้างได้นำมาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ กลุ่มเกษตรกรที่มีบ่อร้างสามารถเพิ่มรายได้จากการทำเกษตร ลดการใช้สารเคมี ดีต่อสิ่งแวดล้อม ดีต่อสุขภาพ ความเครียดลดลง สภาพน้ำและดิน มีความอุดมสมบูรณ์เอื้อต่อทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น
8. เกิดการรวมกลุ่มนำผลผลิตจากโครงการ ได้แก่ มะนาว ใช้เป็นส่วนผสมในการทำน้ำยาอเนกประสงค์ แบ่งปันให้เพื่อนบ้านได้ลองใช้
ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 11 ก.ย. 2562 22:42 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่หัวลำภูหมู่บ้านจัดการตนเอง (ปี 2557)จุดเริ่มต้นของการทำโครงการปฏิรูปหัวลำภูสู่หมู่บ้านจัดการตนเอง คือ ต้องการให้เป็นชุมชนบริหารจัดการสุขภาพซึ่งในปี 2554 พบผู้ป่วยเป็นมะเร็งจำนวน 5 คน และสาเหตุหลักของการเป็นโรคมะเร็งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย เกิดการรวมตัวของคนในชุมชนร่วมมือกันหาแนวทางหลีกเลี่ยงสารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร โดยใช้หลักการพึ่งตนเอง ยึดหลักวิถีพอเพียง และการฟื้นฟูสานต่อวัฒนธรรมแหล่งอาหารพื้นบ้านตามความถนัดของแต่ละคน ได้แก่
- การทำปุ๋ยหมัก
- การรวมกลุ่มทำนาอินทรีย์
- นวัตกรรมการทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ที่เกิดจากการทดลองของคนในชุมชน และได้องค์ความรู้ใหม่ คือ การนำใบเตยที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ในกระบวนการผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นโดยเพิ่มกลิ่นใบเตย จะได้ผลผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นกลิ่นใบเตย ทำให้มีกลิ่นหอม ป้องกันกลิ่นหืน และสามารถเก็บไว้ได้นาน 6 เดือน โดยไม่มีกลิ่นหืน และสร้างรายได้เพิ่มให้ชุมชน
- มีการจัดกิจกรรมออกกําลังกายที่สอดคล้องกับทุกวัยโดยชวนลูกหลานรําพรานโนห์รา ซึ่งท่ารําพรานโนห์ราอยู่ในการแสดงโนห์ราอันเป็นศิลปะการแสดงท้องถิ่นภาคใต้ ได้ประยุกต์มาเป็นท่าออกกําลังกายที่เข้าถึงชาวบ้านได้ง่าย
- มหาวิทยาลัยหมู่บ้านหัวลำภู เป็นมหาวิทยาลัยที่ชาวบ้านคิดขึ้นมาหลักสูตรขึ้นมาทำการสอนโดยชาวบ้านหัวลำภูให้กับคนที่สนใจ มีหลักสูตร 3 ด้าน คือ เกษตรกรรมยั่งยืน วัฒนธรรมยั่งยืน และสวัสดิการชุมชน
ผลที่เกิดขึ้นในปี 2558 มีครัวเรือนต้นแบบที่พึ่งตนเองและจัดการตนเองได้จำนวน 30 ครัวเรือน และได้ขยายไปยังเครือข่ายอีก 5 หมู่บ้าน โดยเน้นการพัฒนาศักยภาพด้านอาชีพเพิ่มรายได้กระตุ้นเศรษฐกิจของคนในชุมชน
wanna เมื่อ 11 ก.ย. 2562 22:37 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ตลาดต้นปริก โมเดลตลาดอาหารปลอดภัยในชุมชน (ปี 2561)ตลาดต้นปริก เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เปิดขายทุกวันอังคาร ช่วงเวลา 14.00 น. – 19.00 น. สินค้าที่จำหน่ายประกอบด้วย อาหารพื้นบ้าน ขนมพื้นบ้านสินค้าเกษตรของชุมชน ตลาดต้นปริกทำให้ชุมชนมีแหล่งจำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เป็นตลาดปลอดบุหรี่ ตลาดปลอดโฟม ทำให้ในขณะนี้ตลาดแห่งนี้ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานและประชาชนในการทำกิจกรรมอาหารปลอดภัย จุดเด่นของตลาดคือการมีตัวแทนคณะกรรมการจากชุมชน ทำให้ตลาดเกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในระดับสูง
wanna เมื่อ 11 ก.ย. 2562 21:52 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่รูปแบบเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา (ปี 2561)ชุดความรู้การจัดการแปลงสวนยางพารา จำนวน 10 รูปแบบ เพื่อให้เกษตรกรชาวสวนยางได้นำไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มกิจกรรมการเกษตรประเภทอื่นๆในสวนยางพารา

รายละเอียด ดังนี้

1. รูปแบบวนเกษตรปลูกสลับแถวเดี่ยวระยะ 3 X 8 เมตร ต่อไร่มียาง 42 ต้น พืชร่วมไม้ยืนต้นอื่น 42 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

2. รูปแบบวนเกษตรสลับยางแถวคู่ระยะ 3 X 8 เมตร ต่อไร่มียาง 56 ต้น พืชร่วมไม้ยืนต้นอื่น 28 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

3. รูปแบบวนเกษตรสลับยางแถวคู่ระยะ 3 X 8 เมตร ต่อไร่มียาง 54 ต้น ไม้ยืนต้นอื่น 30 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

4. รูปแบบวนเกษตร ระยะ 3 X 8 เมตร มียาง 66 ต้นต่อไร่ สลับในแถวไม้ยืนต้นอื่น 20 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

5. รูปแบบวนเกษตร ระยะ 3 X 8 เมตร มียาง 69 ต้นต่อไร่ สลับในแถวไม้ยืนต้นอื่น 15 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

6. รูปแบบวนเกษตรยางระยะ 3 X 8 เมตรมียาง 48 ต้น ไม้ยืนต้นอื่นล้อมบังลม 24 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

7. รูปแบบวนเกษตรปลูกยางเป็นแถบระยะ 4 X 8 เมตร มีจำนวน 44 ต้นต่อไร่ ไม้ยืนต้นอื่นเป็นแนวบังลม 14 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

8. รูปแบบวนเกษตรยางเป็นแถบระยะ 4 X 8 เมตร 48 ต้นต่อไร่ สลับแถวไม้ยืนต้นอื่น 15 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

9. รูปแบบวนเกษตรยางขยายแถว 5X4X14 เมตร 54 ต้น สลับแถวไม้ยืนต้นอื่น 16 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่

10. รูปแบบวนเกษตรยางขยายแถวคู่ระยะ 5X4X10 เมตร มียาง 54 ต้น ไม้ยืนต้นอื่นเป็นแนวบังลม 32 ต้น พืชแซมทนร่ม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ไม้ประดับ สัตว์เลี้ยง สัตว์อิงอาศัยหลบภัยทำรังวางไข่และนำรูปแบบไปถ่ายทอดกับเกษตรกรชาวสวนยาง

ซึ่งมีแปลงต้นแบบ คือของนายนิวัฒน์ เนตรทองคำ อยู่หมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ โทรศัพท์ 087-3907426 พื้นที่ถือครองทั้งหมด 13 ไร่ มีการปลูกพืช เช่น กล้วย ผักกูด หมาก มะละกอ แตงกวา บวบ ฯลฯ ไม้ผล ไม้ใช้สอย พืชสมุนไพร เลี้ยงสัตว์ปีก (เป็ด ไก่บ้าน ไก่ป่า) และสัตว์น้ำ(ปลาดุก ปลาหมอ กุ้ง) การเลี้ยงผึ้ง การเลี้ยงหมู การทำปุ๋ย
ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 11 ก.ย. 2562 21:13 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่การขยายผลรูปแบบการสร้างความมั่นคงทางอาหารจากหมู่บ้านต้นแบบสู่ระดับตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง (ปี 2558)ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราเชิงเดี่ยว ทำให้พื้นที่ติดริมคลองเกิดการพังทลายของหน้าดินกลายเป็นแหล่งน้ำตื้นเขินและประสบปัญหาขาดแคลนน้ำในช่วงหน้าแล้ง รวมทั้งวิกฤตเศรษฐกิจราคายางพาราตกต่ำ ทำให้รายได้ต่อครัวเรือนลดลง ชุมชนบ้านทุ่งยาวเข้าร่วมโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ โดย สจรส.ม.อ. จึงได้จัดทำเครื่องมือแผนพัฒนาชุมชนโดยมีวิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน "คนมีคุณภาพ เศรษฐกิจมั่นคง ชุมชนมีการจัดสวัสดิการ สิ่งแวดล้อมดี” โดยเริ่มจาก
- การจัดการน้ำด้วยการสร้างฝายชะลอน้ำตลอดแนวห้วยสังแก เพื่อเติมน้ำในบึงเก็บน้ำของหมู่บ้านให้มีใช้ตลอดปี โดยชุมชนร่วมกับหน่วยงานราชการ และองค์กรในชุมชน
- การสร้างการเรียนรู้ให้ประชาชนร่วมวิเคราะห์รายรับรายจ่ายครัวเรือนและชุมชน
- ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกกล้วยไข่ ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงปลา เลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพเสริมทดแทนรายได้จากสวนยางพาราที่ขาดหายไป
- การแปรรูปผลผลิตเป็นเครื่องแกง กล้วยไข่ทอด ปลาดุกร้า
- ยกระดับผักสวนครัวเป็นผักปลอดสารเคมี
- จัดตั้งศูนย์สาธิตการตลาดร้านค้าชุมชนเพื่อให้ทุกคนในชุมชนได้เข้าถึงอาหาร และเป็นอาหารที่ปลอดภัย ประกอบด้วย
1. ศูนย์สาธิตการตลาดมีจำหน่ายข้าสาร อาหารแห้ง 1 ร้าน
2. ร้านค้าขายของขายข้าวสาร อาหารแห้ง อาหารสด พืชผัก ผลไม้ 2 ร้าน
3. ร้านขายอาหารสด ขายอาหารสด เนื้อหมู เนื้อไก่ ปลา ผัก ผลไม้สด 1 ร้าน
4. โรงสีข้าวชุมชน ซื้อข้าวจากพื้นที่ทำนา เอามาสีเป็นข้าวสารขายในศูนย์สาธิตการตลาด และร้านค้าชุมชน
5. วิสาหกิจชุมชนผลิตเครื่องแกง ที่สามารถผลิตเครื่องแกงเพียงพอต่อความต้องการของหมู่บ้าน และสามารถส่งขายเป็นรายได้ของกลุ่ม
6. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านทุ่งยาวพัฒนา ผลิตผักขายในชุมชนและขายส่งนอกชุมชน
และในปี 2562 ได้ขยายผลการสร้างความมั่นคงทางอาหารให้ครอบคลุมทั้งตำบลเขาชัยสน โดยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลโคกม่วง เสนอและบรรจุเข้าสู่แผนพัฒนา 4 ปีเทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อสร้างให้ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
sirimon เมื่อ 11 ก.ย. 2562 14:57 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มัสยิดบ้านเเหนือปลอดยาสูบ ด้วยหลักคำสอนการส่งเสริมความดีและยับยั้งความชั่ว (ปี 2558)มีการประกาศมัสยิดปลอดยาสูบ โดยดำเนินการ ดังนี้
- ทุกวันศุกร์จะมีการละหมาด เป็นการส่งเสริมความดีและยับยั้งความชั่ว อิหม่ามจะเทศนาสั่งสอนพิษภัยของยาสูบ (การรณรงค์ต่อต้านยาสูบ ถือว่าเป็นการยับยั้งความชั่ว) และออกกติกาให้ผู้มาละหมาดในมัสยิดทุกคนห้ามสูบยาสูบในมัสยิดและบริเวณมัสยิด
- ในตัวอาคารและนอกตัวอาคารของมัสยิด มีการติดป้ายงดสูบยาสูบในเขตพื้นที่ทั้งหมด
- มีการขยายการดำเนินงานไปยังโรงเรียนและชุมชนที่อยู่ภายใต้การดูแลของมัสยิดบ้านเหนือ
sirimon เมื่อ 11 ก.ย. 2562 14:23 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ชีฟาอ์โมเดล วีถีมุสลิมสู่ชุมชนต้นแบบปลอดยาสูบ (ปี 2557)โปรแกรมเลิกยาสูบเพื่ออัลลอฮโมเดลชีฟาอ์ โดยประยุกต์ใช่ทฤษฎีความสามารถในตัวเอง (Self-Efficacy) และแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support) ตลอดจนการนำรูปแบบการเลิกยาสูบวิถีมุสลิม ดังนี้
- อบรมให้ความรู้พิษภัยยาสูบต่อสูบต่อสุขภาพโดยใช้สื่อการนำเสนิหลายรูปแบบ
- อบรมให้ความรู้หลักการศาสนาว่าด้วยฮูก่มเกี่ยวกับการสูบนาสูบ และสุขภาพดีในหนทางของศาสนา ตลอดจนการเลิกยาสูบเพื่ออัลลอฮ
- อบรมให้ความรู้เรื่องศาสนา "หะลาลและหะรอมในอิสลาม" เน้นด้านบริโภค
- อบรมให้ความรู้ และอธิบายเกี่ยวกับกลวิธีหรือวิธีการปฏิบัติเพื่อเลิกยาสูบให้ได้ใน 5 วัน โดยมีจุดยืนสำคัญคือได้สุขภาพและได้บุญ
- นำต้นแบบผู้ที่ประสบความสำเร็จในการเลิกยาสูบมาเล่าประสบการณ์การเลิกยาสูบให้ฟัง
- จัดให้มีเวทีรับฟังปัยหาอุปสรรค ข้อคิดเห็น และร่วมกันให้แนวทางเลิกยาสูบของกลุ่มเป้าหมาย มีการตั้งเป้าหมายความสำเร็จร่วมกัน ตั้งอุดมการณ์ร่วม ทำสัญญา MOU ร่วมกัน
- จัดบัดดี้-บัดเดอร์ ร่วมช่วยกันเลิกยาสูบ
- ให้คำปรึกษารายบุคคล
- มีพิธีทางศาสนาร่วมขอพรและละหมาดฮายัตร่วมกัน
- ส่งเสริมและฝึกฝนให้มีการถือศีลอดซุนนะห์ทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดีตลอดระยะเวลาเข้าโปรแกรมเลิกยาสูบ
- มีการติดตามการเลิกยาสูบอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่และทีม อสม. ในพื้นที่
- มีการเยี่ยมบ้าน และขอความร่วมมือแก่ครอบครัวในการสนับสนุนให้เกิดการเลิกยาสูบ
- มอบของชำร่วยเป็นแรงจูงใจแก่ผู้ที่สามารถเลิกยาสูบ
- สร้างกระแสสังคมโดยการประชาสัมพันธ์การเลิกยาสูบผ่านผู้นำชุมชนและเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
Syuwari เมื่อ 10 ก.ย. 2562 10:57 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านถ้ำเสือ (ปี 2560)การจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ชุมชนบ้านถ้ำเสือ มีแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ดังนี้
1. มีข้อตกลงร่วมกันเพื่อการดูแลสัตว์น้ำในพื้นที่ เช่น การหาหอย ให้ชาวบ้านหาหอยด้วยมือ และห้ามการใช้เรือลากและใช้ตะแกรงเหล็กลากหอย ครอบคลุมพื้นที่แหล่งน้ำทั้งสองฝั่ง คือ ฝั่งบ้านถ้ำเสือ และฝั่งโคกไคร้ จังหวัดพังงา
2. การส่งเสริมการปลูกป่าชายเลน ทั้งป่าโกงกาง ป่าจาก ทั้งที่เป็นกิจกรรมที่ชาวบ้านในพื้นที่ทำร่วมกัน และเป็นกิจกรรมสำหรับนักท่องเที่ยว พื้นที่ปลูกป่าส่วนหนึ่งเป็นบ่อกุ้งร้าง โดยได้รับความยินยอมจากเจ้าของพื้นที่ อีกส่วนหนึ่งปลูกในพื้นที่ป่าชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนจากราชการ มีการดำเนินการทำเรื่องขอกันพื้นที่ป่าชุมชนเพื่อปลูกป่าจำนวน 100 กว่าไร่ มีคณะกรรมการป่าชุมชนของหมู่บ้านและชาวบ้านช่วยกันดูแล สำหรับต้นกล้าที่ใช้ปลูกป่า บางครั้งจะมีการประสานขอต้นกล้ากับหน่วยงานราชการ และชาวบ้านดูแลเพาะกล้าให้ นักท่องเที่ยวที่มาปลูกป่าจึงไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อต้นไม้ แต่บางครั้งการปลูกป่าในบางแห่ง เช่น ที่วัด นักท่องเที่ยวก็ต้องซื้อต้นไม้บ้าง กิจกรรมการปลูกป่าทำให้พื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นอย่างเช่นพื้นที่บริเวณถ้ำเสือนอกซึ่งเดิมเป็นป่าโล่ง นักท่องเที่ยวมาช่วยกันปลูกป่าจนปัจจุบันกลายเป็นป่าเต็ม
3. มีกิจกรรมที่ทำร่วมกัน ได้แก่ การตัดหญ้า เก็บขยะข้างถนน หรือการจัดกิจกกรมแข่งเรือ ซึ่งใช้เป็นเหตุผลที่ไม่ให้มีสิ่งกีดขวางในคลอง

การจัดการด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน
โปรแกรมการท่องเที่ยวชุมชนโดยปกติจะมีกิจกรรม CSR การปลูกป่าชายเลน ปรับภูมิทัศน์ และให้นักท่องเที่ยวเข้ามาจัดการตามโปรแกรม ซึ่งตัวนี้ก็เป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนด้วย เช่น โปรแกรมสปาโคลน ก็อาจมีกิจกรรมปลูกป่าซึ่งแล้วแต่แพคเกจ อย่างไรก็ตาม รายได้ส่วนหนึ่งจากการท่องเที่ยวในโปรแกรมก็เอาเข้ากองกลางท่องเที่ยวของบ้านถ้ำเสือ เพื่อใช้ในการรักษาทรัพยากร โดยในแต่ละปีได้จ่ายเงินให้กับการพัฒนาหมู่บ้าน และหมู่บ้านก็เอาเงินส่วนนี้ไปจัดการเรื่องสิ่งแวดล้อม เรื่องขยะ ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม หรืออื่นๆ ดังนั้นนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวบ้านถ้ำเสือทุกคนมีส่วนช่วยดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับบทบาทหลักในการท่องเที่ยวชุมชนคือการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม

กฎ กติกาหรือ มาตรการในการจัดการ การท่องเที่ยวร่วมกัน
บ้านถ้ำเสือได้มีกฎ กติกาหรือมาตรการในการจัดการการท่องเที่ยวร่วมกัน ดังนี้
1. การควบคุมจำนวนนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นกติกาของการเข้าออกพื้นที่ระหว่างนักท่องเที่ยวกับผู้ให้บริการ เช่นแหล่งทะเลควบคุมจำนวนนักท่องเที่ยวไม่เกิน จำนวน 40-50 คนต่อวัน หรือเข้าถ้ำก็ไม่เกิน 60 คนต่อวัน ไม่เกินขีดจำกัดในแหล่งที่อ่อนไหว เสียหายง่าย และจะไม่ให้มีการเก็บหินต่าง ๆ หรือโคลนในแหล่งท่องเที่ยวออกมา
2. การเน้นใช้วัสดุพวกชานอ้อย ใบตอง ปิ่นโต แทนโฟม ถุงพลาสติก ถุงกอบแกบ
3. การจัดการขยะ โดยการชี้แจงเพื่อสร้างความตระหนักให้แก่นักท่องเที่ยว การจัดอบรมให้กับไกด์ เกี่ยวกับสำนึกรักษ์บ้านเกิด มีข้อตกลงร่วมกันกับนักท่องเที่ยวและผู้ประกอบการ ให้นำขยะไปในแหล่งท่องเที่ยวให้น้อยที่สุด และนำขยะกลับออกมาให้หมด บางครั้งก็ให้ไกด์เป็นผู้จัดการเก็บขยะ หรือบางครั้งไกด์กับนักท่องเที่ยวร่วมกันเก็บขยะ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.) จะเป็นผู้มาจัดการขยะจากแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้ รวมถึงขยะจากที่พักต่อไป ซึ่งขณะนี้ยังไม่พบปัญหาการจัดการขยะจากการท่องเที่ยว เนื่องจากเป็นช่วงเริ่มต้นของการท่องเที่ยว
4. การจัดการน้ำมันเรือ ซึ่งมีจำนวน 10 กว่าลำ จะไม่มีการถ่ายน้ำมันลงทะเล จะถ่ายน้ำมันใส่กระป๋อง ซึ่งจะมีคนรับซื้อต่อ
Syuwari เมื่อ 9 ก.ย. 2562 16:15 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่การท่องเที่ยวโดยชุมชนทุ่งหยีเพ็ง (ปี 2560)ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
- การท่องเที่ยวโดยชุมชน ทำให้เกิดการอนุรักษ์ร่วมกันระหว่างชุมชน และหน่วยงานภาครัฐ เช่น การปลูกป่า การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ ธนาคารปูม้า
- ชุมชนมีกิจกรรมการจัดการน้ำเสียร่วมกับอบต.ศาลาด่าน
- โปรแกรมกิจกรรม ฟังเสียงป่า/ฟังเสียงธรรมชาติ ชมหญ้าทะเล ทำบ้านปลา สัมผัสระบบนิเวศป่า
- มีการจัดระเบียบเรือ การกำหนดราคาเรือนำเที่ยวให้มีมาตรฐาน การจอดเรือนำเที่ยวจะไม่มีการทอดสมอที่ปะการัง จะจอดเรือตรงชายหาด

ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- การท่องเที่ยวโดยชุมชน ทำให้เกิดการจ้างงานในชุมชน กลุ่มวัยรุ่นมีอาชีพและมีรายได้จากการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- การท่องเที่ยวส่งเสริมสุขภาวะด้านจิตใจ เช่น การนั่งสมาธิ ฟังเสียงธรรมชาติ ธรรมชาติบำบัด
- การท่องเที่ยวโดยชุมชน ทำให้คนในท้องถิ่นกล้บมาทำงานที่บ้านมาขึ้น เช่น ไกด์นำเที่ยว ขับเรือนำเที่ยว
- เกิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูเรือแจวโบราณ และการทำขนมโบราณ
- รายได้จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจะมีการจัดสรรเข้าสู่ชุมชน ร้อยละ 10
- การท่องเที่ยวโดยชุมชนเชื่อมโยงธุรกิจ ที่พัก ร้านอาหาร และแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ รวมทั้งการรับส่งนักท่องเที่ยว ก่อให้เกิดการกระจายรายได้
- การท่องเที่ยวโดยชุมชนใช้วัตถุดิบในพื้นที่ 100% ในการให้บริการนักท่องเที่ยว
sirimon เมื่อ 9 ก.ย. 2562 15:47 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่อุปกรณ์สาธิตปอดจำลองขณะสูบยาสูบเพื่อการรณรงค์ลดละเลิกยาสูบในชุมชน (ปี 2558)โครงการควบคุมยาสูบโดยใช้ชุมเป็นฐาน จ.นราธิวาส ใช้ธรรมนูญสภาชันชีเพื่อสุขภาพเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเรื่องการควบคุมยาสูบ ภายใต้ธรรมนูญสภาชันชีเพื่อสุขภาพ ได้มีการนำธรรมนูญฯ ไปใช้ในการจัดกิจกรรม เช่น มัสยิดปลอดยาสูบ บ้านนี้ปลอดยาสูบ โรงเรียนปลอดยาสูบ ฯลฯ ทำงานร่วมกับประชาคมด้านสุขภาพ เน้นการสร้างนวัตกรรมสื่อเรื่องยาสูบ โดยการผลิตอุปกรณ์สาธิตปอดจำลองขณะสูบยาสูบเพื่อการรณรงค์ลดละเลิกยาสูบในชุมชน โดยประยุกต์จากกระปุกยาที่เป็นพลาสติกใสและใช้สายยางต่อที่ฝาเพื่อปั๊มลมเข้าออกโดยต่อเข้ากับไส้กรองอากาศสีขาวและกระปุกยา ปลายสายยางต่อกับที่ปั๊มลูกโป่งเพื่อปั๊มควันยาสูบลงไป ส่วนปลายอีกด้านต่อกับมวนยาสูบที่จุดไฟแล้วปิดฝาให้สนิททำเป็นระบบปิด เพื่อจำลองเป็นปอดของมนุษย์ และใส่น้ำเข้าไปในกระปุกยาเพื่อให้มีความชื่นภายใน เมื่อบีบที่ปั๊มลูกโป่ง ควันยาสูบจะถูกปั๊มผ่านท่อลงไปในขังในกระปุกยา เมื่อยาสูบที่ถูกจุดไฟเผาไหม้หมด 1 มวน สามารถโชว์ให้เห็นได้ว่าก้นยาสูบหรือไส้กรองอากาศจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีน้ำตาลเข้ม
Yuttipong Kaewtong เมื่อ 9 ก.ย. 2562 09:46 น.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่การเลี้ยงผึ้งเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมปลอดสารพิษในชุมชนหูยานบ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง (ปี 2559)- ชุมชนหูยานได้รับรางวัล ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงระดับจังหวัดที่มีผลงานเด่นคือการปลูกผักปลอดสารพิษ ลด ละ เลิกการใช้สารเคมีทุกชนิด มีการทำกันเป็นชุมชน 50 ครัวเรือน เกิดนวัตกรรม จากผึ้งภูมิปัญญาฟื้นชุมชนให้น่าอยู่ ครัวเรือนต้นแบบเลี้ยงผึ้ง (ณ ปี 2558)
- ชุมชนหูยานพลิกจากชุมชนที่เคยมีปัญหากลายมาเป็นชุมชนที่มีความพร้อมที่สุดของตำบลนาท่อม โดยเฉพาะภาพของประชาชนมีความพร้อมในการทำงานเป็นกลุ่มสูง
- มีวิทยากรเจ้าของแหล่งเรียนรู้ โรงเรียนผึ้ง ได้รับความไว้วางใจให้เป็นคณะทำงานขับเคลื่อนเมืองพอเพียงของผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง ขยายประเด็นผึ้งในระดับจังหวัด ส่งผลให้มีชุมชนจากภายนอกมาเรียนรู้ดูงาน เป็นที่รู้จักในวงกว้าง
- มีตลาดเขียวแหล่งอาหารปลอดภัย

จากการดำเนินโครงการชุมชนน่าอยู่ 2555-2558 ในระยะเวลา 3 ปี พบว่า สามารถชักชวนชาวบ้านในพื้นที่ให้มาเป็นครัวเรือนต้นแบบได้เพิ่มขึ้นโดยแกนนำ 1 คน ชักชวนสมาชิกมาเพิ่มอีก 4 ครัวเรือน จนรวมเป็น 70 ครัวเรือนต้นแบบ ที่สามารถลดรายจ่ายด้านต้นทุนการผลิตลงได้ มีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เองในชุมชนบ้านหูยาน มีการเลี้ยงผึ้ง เพื่อสุขภาพและเสริมรายได้ จำนวน 25 ราย เมื่อทางชุมชนได้ปรับเปลี่ยนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกผัก ทำให้ผึ้งมีจำนวนเพิ่มขึ้น น้ำผึ้งที่ได้มีปริมาณเพิ่มขึ้น ทำให้ชาวบ้านหลายคนหันมาเลี้ยงผึ้งโพรงเพื่อสุขภาพเป็นอาชีพเสริมจนเพิ่มเป็น 50 รายจำนวน 285 รัง ทีมสภาแกนนำเกิดการพัฒนาศักยภาพจนสามารถดำเนินโครงการได้สำเร็จ ส่งผลให้เป็นชุมชนที่มีระบบกลไกการจัดการตนเอง ด้วยการร่วมคิดร่วมทำเกิดเป็นกลไกขับเคลื่อนการจัดการชุมชนพึ่งตนเองในด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมได้ขยายผลการเลี้ยงผึ้งไปสู่ชุมชนภายนอกให้เข้ามาร่วมเรียนรู้และพัฒนาเป็นหลักสูตรชุมชนขยายผลสู่โรงเรียนในพื้นที่ เกิดตลาดสีเขียวที่มีการรับรองมาตรฐานสินค้าอาหารปลอดภัย และคนในชุมชนลดความขัดแย้งเมื่อได้มาแลกเปลี่ยนพูดคุยกันภายใต้การทำกิจกรรมร่วมกัน
(ที่มาข้อมูล: ถาวร คงศรี และสมนึก นุ่นด้วง)