สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 4

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างศักยภาพในการจัดทำแผนงาน/โครงการที่มีประสิทธิผลของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น13 มีนาคม 2563
13
มีนาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ภานิชา เขต 4
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทบทวนหลักการและแนวทางการบริหารจัดการกองทุน วิเคราะห์สถานการณ์/ปัญหาสุขภาพในชุมชน” (สถานการณ์ปัญหา/สาเหตุ/สิ่งที่ทำได้ดี/สิ่งที่ยังทำได้ไม่ดี/แนวทางแก้ไข การใช้โปรแกรมออนไลน์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเขียนโครงการที่ดี เรียนรู้/ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประกอบไปด้วย 13 กองทุนฯ ดังนี้ 1. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ชะอม 2. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ชำผักแพว 3. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ตาลเดี่ยว 4. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.เตาปูน 5. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ท่าตูม 6. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ท่ามะปราง 7. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.บ้านป่า 8. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.สองคอน 9. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ห้วยแห้ง 10. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.หินซ้อน 11. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองแก่งคอย 12. กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองทับกวาง 13. กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ท่าคล้อ ปัญหาการเจ็บป่วย 1
1. เกิดจากพันธุกรรม
2. สิ่งแวดล้อมเช่นมลพิษทางอากาศและสารเคมี
3. พฤติกรรมการอยู่อาศัย การกิน ประมาท ไม่ออกกำลังกายเฉพาะบุคคลเอง
4. ประชาชนรู้เท่าไม่ถึงการณ์ประมาทในการดำรงชีพ อยากเห็น
1. สามารถแก้ไขปัญหาชุมชนได้จริง
2. ให้ความรู้
3. ตรงตามวัตถุประสงค์
4. มีประสิทธิภาพสัมฤทธิ์ผล 5. มีแผนการการดำเนินงานที่ชัดเจนแผนงานของโครงการที่ดี
6. สนับสนุนงบประมาณกลุ่มองค์กรมากขึ้น
7. มีการสร้างเครือข่ายในการสร้างเสริมสุขภาพ
8. คณะกรรมการการบริหารมีการขับเคลื่อนงานที่มีศักยภาพ และให้ความสำคัญในการป้องกันโรค
9. คณะกรรมการมีความเข้มแข็ง
ความภาคภูมิใจ
1. ได้ใช้จ่ายงบประมาณตรงตามวัตถุประสงค์ เพื่อร่วมดูแลคุณภาพชีวิต
2. คณะกรรมการให้ความร่วมมือในการประชุมจัดกิจกรรมให้ความสำคัญกับกองทุนฯและมีเงินช่วยเหลือตรงกลางงบประมาณกองทุน
3. ประชาชนเสนอโครงการที่ดี และปฏิบัติในพื้นที่ในการขอรับงบประมาณ และได้รับประโยชน์ในด้านสุขภาพมีกิจกรรมใหม่ๆร่วมกัน
4. สามารถแก้ไขปัญหาในท้องที่ช่วยเหลือผู้ป่วยและคนพิการ
ปัญหา
1. การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ในบางประเด็น
2. มีองค์กรขอรับงบสนับสนุนน้อยงบประมาณเหลือเยอะ
3. บางคนยังไม่เข้าใจกองทุนหลักประกันสุขภาพ
4. การจัดการคณะกรรมการยังไม่มีความรู้ ในบางคนไม่รู้หน้าที่ การใช้เงินสนับสนุน ยังทำได้ไม่เข้าที่ติดระเบียบฯ
จะทำอะไร 1. ณรงค์ให้ความรู้มลพิษทางอากาศและอาหารการกิน
2. ประชาสัมพันธ์ในการดูแลสุขภาพ
3. จัดทำแผนงาน และการติดตามในพื้นที่
4. สร้างกลุ่มขยายการดำเนินงาน และช่วยกันดูแลใกล้ชิดชาวบ้าน
แนวทางแก้ไข
1. คณะกรรมการร่วมคิด ร่วมโครงการ
2. สร้างความรู้ความเข้าใจบทบาทที่มีต่อกองทุนฯ 3. การติดตามประเมินผลแก่ประชาชน
4. แต่ละกลุ่มให้การดำเนินงานร่วมมืออย่างจริงจังมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีแผนดำเนินงาน ทำงานติดตามแผนตามเงื่อนไข สปสช. เข้าใจบทบาทหน้าที่และประชาชนมีส่วนร่วมต่อตนเองและกองทุนฯ 5. สร้างเครือข่าย
6. มีพี่เลี้ยงแนะนำ