โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)
เพื่อวางแผนการปฏิบัติงานด้านบริหารจัดการกองทุนฯจ.นครศรีธรรมราช
เวทีประชุมการจัดการความรู้ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใค้กองทุนฯในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
08.30 - 09.00 ลงทะเบียน
09.00 - 10.00 พิธีเปิดและบรรยายพิเศษ "แนวคิดหลักการสำคัญของกองทุนฯในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่"
10.00 - 12.00 ชวนคิดชวนคุย เรื่อง "สร้างการเรียนรู้และเข้าใจประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การดำเนินงานกองทุนฯ / "กฏระเบียบ ในการบริหารจัดการกองทุนฯพร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00 การวิเคราะห์สถานการณ์ / ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง / การกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานกองทุนฯจังหวัดนครศรีธรรมราช
14.00 - 15.45 การจัดทำแผนปฏิบัติสร้างและพัฒนากลไกการบริหารจัดการกองทุนฯ
15.45 - 16.30 สรุปผลการประชุมและปิดการประชุม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ทีมขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จ.นครศรีธรรมราช
วันที่ 15 ธันวาคม 2559
ณ โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จ.นครศรีธรรมราช
ผู้เข้าร่วมประชุม
๑. นางจรรยาภรณ์ จันทรมาศ สสอ.เมืองนครศรีธรรมราช
๒. นางสุรพร นนทแก้ว สสอ.หัวไทร
๓. นางบุญเรือน ชูแสง รพ.สต.เขาพังไกร
๔. นางสาธิตา นวลพลับ ทต.เกาะทวด
๕. น.ส.จิตติมา สินมา ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิต
๖. น.ส.วชิรา ไวฤทธิ์ ศุนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิต
๗. นายยงยุทธิ์ นาทะชัย อบต.ไชยมนตรี
๘. นายมนตรี เพชรศรี
๙. นายวิชาญ กาญจนนุกูล
๑๐. นายกำแหง กรงกรด
๑๑. ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
๑๒. นางเยวดี พรหมภร สสจ.นครศรีธรรมราช
๑๓. นายอะสาน ทรงเลิศ ผู้ใหญ่บ้าน
๑๔. น.ส. กัลยา รอดแก้ว ทต.กะปาง
๑๕. นายอมร เรืองรอด
๑๖. นายนภดล ไชยศร อบต.นาไม้ไผ่
๑๗. นายทวีสา เครือแพ สปสช.เขต๑๑
๑๘. น.ส.พีรญา สุขบำเพ็ญ
๑๙. น.ส.วิลาวัณย์ ดำจันทร์ เครือข่ายยุวทัศน์
๒๐. นายณัฐพัน คงศักดิ์ เยาวชนนกนางนวล
๒๑. น.ส.นิชาพิซา นิมะนัง สมาคมประชาสังคมชุมพร
๒๒. นายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวง ทต.นาเหรง
๒๓. น.ส.วณิชญา ฉันสำราญ เครือข่ายยุวทัศน์
๒๔. นายอภิวัฒฯ ไชยเดช สสอ.พระพรหม
๒๕. นายสมพร กาฬ อบต.เขาพังไกร
๒๖. นายเชาวลิตร ลิบน้อย สปสช. ๑๑
๒๗. นางสุมิตรา รักบำรุง อบต.ฉลอง
๒๘. นายสุเทพ หนูรอด อบต.นาเคียน
๒๙. นางพัลลภา ระสุโส๊ะ ศูนย์ประสานงานฯ จ.ชุมพร
เริ่มประชุม ๐๙.๐๐ น.
เมื่อสมาชิกเข้าร่วมประชุมมาครบองค์ประชุมได้เริ่มประชุมตามวาระ
ช่วงชวนคิดชวนคุย
คุณเชาวลิต การทำงานของ สปสช.ในส่วนของจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีความร่วมมือกันทั้งภาค อปท. ภาคประชาชน ภาคราชการ ในส่วนสาธารณสุข ต้องมองว่าประชาชนได้อะไรจากการทำงานนี้
นายสุรศักดิ์ วงค์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลตำบลนาเหรง วันนี้ได้มีการจัดตั้งทีมขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จ.นครศรีธรรมราช บทบาทหน้าที่เดิมเป็นการขับเคลื่อนของ สสจ. เป็นหลัก ภาคประชาชนมีน้อย เมื่อมีปัญหาในระดับนโยบายของ สธ. กับ สปสช. ทำให้การขับเคลื่อนงานเคว้งคว้าง หลังจากได้ขับเคลื่อนร่วมกับองค์กรภาคประชาชน ทำให้การประสานงานมีอุปสรรคพอสมควร สำหรับปัญหาของ จ.นครฯ มีการเข้าร่วมงานของภาคประชาชนน้อยมาก จากปัญหาทั้งหลาย ข้อเสนอ
๑. ทำอย่างไรเพื่อให้ภาคประชาชนเข้าร่วมในกองทุนฯ เพื่อเป็นกรรมการในกองทุนต่อไป
๒. การเปลี่ยนแปลงในระดับเขต องค์กรภาคประชาชนเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนระดับเขต สำหรับเขต ๑๑ เอาองค์กรภาคประชาชนเป็นตัวตั้งแล้วนำข้อเสนอแนะไปเสนอ สำหรับ จังหวัดอื่นๆ และเขต ๑๒ เตรียมขับเคลื่อนโดยภาคประชาชนเป็นแกนนำในการพัฒนาต่อไป
๓. วันนี้ตั้งทีมขับเคลื่อนระดับจังหวัดฯ งานที่จะทำ
๑. จัดทำแผนงานในปี ๒๕๖๐
๒. เรื่องโครงสร้างการทำงานในระดับจังหวัด หน้าที่ในการทำงานของอนุกรรมการฯ
๓. จะทำอย่างไรให้กองทุนฯ สามารถนำงบประมาณที่ค้างอยู่มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. ต้องการเสนอคณะกรรมการระดับจังหวัด มีใครบ้าง ในระดับอำเภอมีใครบ้าง ให้มอบหมายความรับผิดชอบในโซนอำเภอ
๕. หลังจากได้ทีมงานขับเคลื่อนในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ต้องมีการพัฒนาศักยภาพของทีมขับเคลื่อนต่อไป
๖. ภารกิจ ลองเทอมแคร์
๗. ต้องมีการประเมินงานกองทุน กำหนดแนวทางการประเมินการทำงานของทีมขับเคลื่อน และกองทุนฯ ต่อไป
อ.นัยนา หนูนิล เสนอแนะ
การทำงานของสาธารณสุขชุมชน มีทั้งในระดับจังหวัด อำเภอ สำหรับต่อไปนี้ ต้องมีการขับเคลื่อนต่อไป ต้องมีการขับเคลื่อนร่วมกับภาคประชาชน สำหรับ สช. มีสภาองค์กรชุมชน ในการขับเคลื่อน ได้เข้าพบ ผวจ.คนใหม่ ซึ่งท่านผู้ว่าฯ ได้มีความต้องการทำร่วมกับภาคประชาชน ถ้าทาง สปสช. ได้ร่วมกับ สช. น่าจะขับเคลื่อนได้อย่างดี น่าจะมีคีย์หลักในการระดับอำเภอ ตั้งต่อในระดับโซน สำหรับการปฏิบัติการ ถ้านักพัฒนาชุมชน ร่วมมือในการทำงานจะสามารถทำให้การขับเคลื่อนงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีการตั้งในระดับจังหวัด ระดับโซน ระดับอำเภอ ต่อไป
สำหรับการทำแผนพัฒนาจังหวัด ต้องมาดูว่าเป็นเรื่องอะไร เช่น เรืองของเด็กเยาวชน ผู้สูงอายุ อาจจะทำเป็นเพจเก็ต ทุกโครงการต้องเห็นผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ต้องเห็นตัวชี้วัดที่ชัดเจน ต้องมีการทำเนินงานก่อนโครงการ และหลังเสร็จโครงการฯ เพื่อเห็นตัวเปลี่ยนแปลง อาจจะเริ่มจากหมู่บ้านที่นำร่อง
คุณพัลลภา
การทำงานของภาคประชาชนจะทำตามที่บทบาทของตัวเองได้ สำหรับ จ.ชุมชน แต่งตั้งคณะทำงานแล้วให้ทางผู้ว่าฯ แต่งตั้งทีมทำงาน ได้ให้ท้องถิ่นจังหวัด เป็นตัวเคลื่อน แต่งตั้งต่อในระดับอำเภอ ต่อไป สำหรับ นครฯ น่าจะวางทีมแล้วกำหนดเป้าหมายที่จะเคลื่อนต่อไป
ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยคุณเชาวลิต...
Power point.
อ.เบิร์ด การดูภาคีสานพลัง ช่วงปลายปีได้ประสานใน ๗ จังหวัดภาคใต้ ให้บูรณาการกับโครงการชุมชนน่าอยู่ ใน คนใต้สร้างสุข นำไปเพิ่มในจังหวัดอื่นๆ ด้วย คุณเชาวลิต จะนำไปพูดคุยกันในเวที คนใต้สร้างสุข ที่ จ.ตรัง ต่อไป
สำหรับการประเมิน สำหรับการประเมินกองทุน เป็นการประเมินเพื่อการพัฒนา ปีละ ๒ ครั้ง เดือน มี.ค ตรวจสอบขั้นต้น สำหรับเดือน ส.ค. จะประเมินอีกครั้ง มีการประเมินแบบ ประเมินตนเอง และโดยทีมประเมินระดับอำเภอ ประกอบด้วย ตัวแทนจากอำเภอ ท้องถิ่นอำเภอ หน่วยให้บริการ และตัวแทนจากประชาชน ผลของการวัดศักยภาพของกองทุนฯ มีกรอบที่วัดอย่างชัดเจน ( เพาเวอร์พ้อย)
ดูผลการประเมินจากเวปไซด์ ดูได้โดยไม่ต้องใช้พาสเวิร์ด เกณฑ์ประเมินจะอยู่ในคู่มือฯ
การดูแลผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ (ลองเทอมแคร์)
Power point
การขับเคลื่อนงาน
โซน ๑ ประกอบด้วย ขนอม สิชล ท่าศาลา นบพิตำ
โซน ๒ ประกอบด้วย เมือง พระพรหม ลานสกา พรหมคีรี พี่เยาว์ หมอเบิร์ด เจี๊ยบ
โซน ๓ ประกอบด้วย ปากพนัง เชียรใหญ่ เฉลิมพระเกียรติ ชะอวด ร่อนพิบูลย์ หัวไทร สุรพร บุญเรือน สมวงศ์
โซน ๔ ประกอบด้วย ทุ่งสง บางขัน ทุ่งใหญ่ ถ้ำพรรณรา พิปูน นาบอน ฉวาง ช้างกลาง
ทีมขับเคลื่อน
๑. ภาคี อปท. (๑๖ อปท.)
๑. ป.อ้วน โซน ๑
๒. ป.เทพ โซน ๒
๓. ป.ติ๋ม โซน ๓
๔. ป.แมว โซน ๑
๕. ป.ยุทธ์ โซน ๒
๖. ป.ดล โซน ๔
๗. ป.นา โซน ๓
๘. รองฯยา โซน ๔
๙. ป.ทอม โซน ๓
๑๐. โอ๋ (นักพัฒน์)โซน ๓
๑๑. ป.สุวิทย์ โซน ๓
๑๒. หยา โซน ๒
๑๓. รองฯหนู โซน ๔
๑๔. ป.นก โซน ๑
๑๕. นายสันติ โซน ๒
๑๖. นายสมยศ
๒. สาธารสุข (๑๐) ประกอบด้วย
๑. นายวิรัญวิทย์ รู้ยิ่ง โซน ๒
๒. นายอภิวัฒน์ โซน ๒
๓. นายสุรพร โซน ๓
๔. คุณเจี๊ยบ โซน ๒
๕. คุณอุมาพร โซน ๔
๖. คุณชัยณรงค์ โซน ๔
๗. คุณอารมณ์ โซน ๑
๘. คุณสมวงษ์ โซน ๓
๙. คุณธรรมนูญ โซน ๑
๑๐. คุณกฤษฏา โซน
๓. ภาคประชาชน ๑. นายสมาน แสงวิมาน โซน ๒ ๒. นางสาววณิชญา ฉันสำราญ โซน ๑ ๓. นางสาวพีรญา สุขบำเพ็ญ โซน ๒ ๔. นางอันธิกา เสมสรร โซน ๑ ๕. ประธาน อสม. จังหวัด ทั้ง ๔ โซน
๔. นักวิชาการ
๑. ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล
๒. คุณเยาวดี
๓. คุณวีณาพร
๔. คุณธีระวัฒน์ แดงกะเปา
๕. นายสุขาติพงศ์ ทรงทอง
โครงสร้างทีมขับเคลื่อน ๑. ที่ปรึกษา นายแพทย์สาธารณสุข (สสจ.) / นายก อบจ. / นายกเทศมนตรีนครศรีฯ ๒. ประธาน ท้องถิ่นจังหวัด ๓. รองโซนทั้ง ๔ โซน รองประธาน นายสันติ ศรีเมือง อบต.ทอนหงส์ (โซน ๒) รองประธาน นายสุรศักดิ์ วงค์อำไพวรรณ อบต.นาเหรง (โซน๑) รองประธาน นายประยงค์ หนุนบุญคง อบต.ขอนหาด (โซน ๓) รองประธาน นายสมยศ รักษาวงศ์ อบต.ดุสิต (โซน ๔)
๔. ทีมเลขานุการ : วณิชญา ฉันสำราญ
- ธุรการ : นายสมาน แสงวิมาน , นางสาววิลาวัลย์ ดำจันทร์
- การเงิน : รองกัลญา
- ประชาสัมพันธ์ : อันธิกา เสมสรร , พีรญา สุขบำเพ็ญ
- ประสานงาน : ปลัดสุเทพ หนูรอด
๕. วิชาการ
- ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล ประธานวิชาการ
- คุณวิรัลวิชญ์ รู้ยิ่ง
- นายธีรวัฒน์ แดงกะเปา
- นายจำนง หนูนิล
๖. กรรมการ
อ.นัยนา ๑. เสนอถอดบทเรียนสำหรับพื้นที่ ที่ใช้งบฯ และไม่ใช้งบฯ ๒. เสนอเพื่อจัดการประชุม
นัดประชุมครั้งต่อไป วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
- สสอ
- จนท.กองทุนฯ
- ภาคประชาชน
- ที่ปรึกษาทีมงานการดำเนินงานกองทุนฯจ.นครศรีธรรมราช
-
-
-