สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)

เวทีจัดการความรู้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดระนอง14 ตุลาคม 2559
14
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นิฮาฟีซา นิมะมิง
circle
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสรุปผลการดำเนินงานกองทุนฯที่ผ่านมา 2. เพื่อกำหนดทิศทางการผลการดำเนินงานกองทุนฯ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ

โครงการ เวทีจัดการความรู้ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จังหวัดระนอง

วันที่ 14  ตุลาคม  2559

ห้องประชุมโรงแรมระนองการ์เด้นท์ อำเภอเมือง  จังหวัดระนอง

08.00 – 09.00 น.  ลงทะเบียน

09.00 – 10.00 น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์และทิศทางนโยบายทางด้านสุขภาพของจังหวัดระนอง

09.30 – 10.30 น.  สรุปสถานการณ์และภาพรวมการทำงานกองทุนฯ จังหวัดระนอง

10.30 – 10.45 น.  รับประทานอาหารว่าง

10.45 –12.00 น.  ทบทวนการจัดเวทีและการขับเคลื่อนทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ที่ผ่านมา

12.00 –13.00 น.  รับประทานอาหารเที่ยง

13.00 – 14.00 น.  ออกแบบการขับเคลื่อนกองทุนฯพร้อมระบบประเมินและติดตามผลกองทุนฯ ในจังหวัดระนอง

                        ปิดการประชุม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อำเภอกระบุรีและอำเภอละอุ่น

เป้าหมาย / สิ่งที่อยากเห็นในการทำงานกองทุนฯ - อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนเพื่อยกระดับกองทุนฯให้เป็นไปตามระเบียบของกองทุนฯ - การสื่อสารหลายๆช่องทางให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่/สามารถเข้าถึงกองทุนฯได้

แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย - พัฒนาแกนนำหรือทีมพี่เลี้ยง - พัฒนาให้กลุ่มเป้าหมายสมามารถเขียนโครงการเองได้ - คณะกรรมการกองทุนฯมีความรู้ / สามารถกระจายงบประมาณออกจากกองทุนฯได้ - จัดตั้งทีมประเมิน/และประมาณการงบประมาณในหารพัฒนาทีม - กองทุนได้รับการประเมิน

แกนนำและทีมในการทำงาน - ปลัด , สสอ , เลขานุการกองทุนฯ , แกนนำกลุ่มต่างๆ
- ปลัดคะเณ ทองพรุสยาม ผู้ประสานงานอำเภอกระบุรีและอำเภอละอุ่น

  1. อำเภอเมือง

เป้าหมาย/สิ่งที่อยากเห็นในการทำงานกองทุน ตำบล

  • ผู้นำชุมชน/ประชาชน มีส่วนร่วมในการดำเนินงานใช้ประโยชน์จากกองทุนฯ
  • เสริมสร้างความรู้/ความเข้าใจการดำเนินงานกองทุนฯในทุกระดับ เช่น ประชาชน ผู้นำ คณะกรรมการ เครือข่ายภายในชุมชน
  • มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯอย่างต่อเนื่อง
  • มีการเชื่อมประสานระหว่างกองทุนฯในพื้นที่

แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

  • ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จักกองทุนฯ (3 ระดับ)
  • พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯระดับจังหวัด (ระเบียบการดำเนินกองทุนฯ/บทบาทหน้าที่คณะกรรมการ/วัตถุประสงค์กองทุนฯ)
  • จัดทีมประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯระดับจังหวัด/อำเภอและติดตามประเมินผลปีละ 2 ครั้ง
  • พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการและติดตามประเมินผล

แกนนำในการประสานงานอำเภอเมืองระนอง

ผู้ประสานงานหลักระดับอำเภอ : สาธารณสุขอำเภอ (รพ.สต.) 1. นวพรเนียมอยู่ 081-3706552สสอ.เมือง 2. มาลี ยกย่อง 086-6873356ทม.ระนอง 3. สารีย์ครุอำโพธิ์081-5379599อบต.หาดส้มแป้น 4. กมลวรรณ บุญญวงศ์ 095-0371361 ประธานกองทุนฯสวัสดิการชุมชน ทต.บางบอน

  1. อำเภอสุขสำราญและอำเภอกะเปอร์

เป้าหมาย/สิ่งที่อยากเห็นในการทำงานกองทุน ตำบล

  • ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทำกิจกรรม/โครงการมากยิ่งขึ้น มีความรู้สึกเป็นเข้าของ
  • มีระเบียบกองทุนฯ/สปสชที่เอื้อในการทำงาน/เบิกจ่ายงบประมาณ ที่สามารถจัดกิจกรรมได้ตามความต้องการของประชาชน

แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

  1. แกนนำขับเคลื่อนงานประกอบด้วย 1.ประชาชน 2. ภาครัฐ/ท้องถิ่น พร้อมใจที่จะทำ 3. ผู้นำชุมชนเห็นความสำคัญ
    ต้องมีการกระตุ้นการทำงานทั้ง 3 ฝ่าย เพื่อให้กองทุนฯบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ประชาชนสามารถเข้าถึงกองทุนฯได้ ภาครัฐหนุนเสริมด้านวิชาการและงบประมาณ และที่สำคัญผู้นำหรือผู้บริหารเห็นความสำคัญของกองทุนฯอย่างแท้จริง
  2. การประชาสัมพันธ์ air war คือ เสียงตามสายในภายชุมชน paper war คือ ป้าย / ไวนิล ประชาสัมพันธ์ทุกกองทุนฯ ground war คือ เข้าสู่วาระในที่ประชุมหมู่บ้าน
  3. ต้องมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

แกนนำและทีมงานในการทำงาน (ระดับอำเภอ) - อำเภอกะเปอร์
- นางขนิษฐา นาคแก้วอบต.กะเปอร์ - นางนาตยา มัชฌิม
- นายสาโรจน์ วิทยวิฑูร -อำเภอสุขสำราญ - นางสาวนัสรียา สือมะ - นางเนาวรัตน์ กัยรวิวัฒนวงศ์ - นายอนุวิทย์ ชำนาญกิจ - นายพิทักษ์ บุญส่ง - นางระพี น้ำจันทร์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 39 คน จากที่ตั้งไว้ 39 คน
ประกอบด้วย
  • คณะกรรมการกองทุนฯ
  • ผู้ที่รับผิดชอบกองทุนฯ

-ผู้ที่เสนอโครงการกองทุนฯ

  • ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-