สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้

แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์/การท่องเที่ยวชุมชน4 สิงหาคม 2559
4
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย chabeeah
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้กลุ่มคนฟังรายการวิทยุ ในท้องถิ่น จ.กระบี่ได้รับรู้และร่วมตระหนักเรียนรู้ และส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผลิตรายการวิทยุ "เปิดโลกท่องเที่ยวชุมชน กระบี่" ออกอากาศทางสถานีวิทยุ FM 96 Mhz.Untiy Radio จ.กระบี่  ออกอากาศทุกวัน จันทร์ พุธ ศุกร์  เวลา  09.00 - 10.00 น. ตั้งแต่เดือนสิงหาคม  ถึง  เดือนธันวาคม  2559  / ผลิตสปอตวิทยุ  และจิงเกิ้ลรายการ และ ผลิตรายการวิทยุ รายการสารคดี ผลิตจิงเกิ้ลออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง  ถ่ายทอดสดผ่านทางเฟสบุคไลฟ์  และสัมภาษณ์บุคคลทางวิทยุกระจายเสียงผลลัพท์ที่ตั้งไว้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กระบี่ = การท่องเที่ยวในชุมชนได้รับความสนใจและเกิดการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น  การให้ความสนใจตระหนักในการอนุรักษ์  ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น  เกิดความเอาใจใส่  จิตสำนึก รัก หวงแหนวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชนของตัวเองมากขึ้น  และ
ตรัง = สปอต+จิงเกิ้ลรายการ  รายการวิทยุกระจายเสียง  บทความทางสื่อหนังสือพิมพ์  เวทีประชุมแลกเปลื่ยนกันระหว่างกลุ่มสื่อ  ข่าวสารความเคลื่ยน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5,000 คน จากที่ตั้งไว้ 5,000 คน
ประกอบด้วย

ประชาชนทั่วไป พนักงานเจ้าหน้าที่ภาครัฐ  และเอกชน  กลุ่มผู้ฟังทางสถานีวิทยุ  FM 96 Mhz.Untiy Radio จ.กระบี่  จำนวน  5,000  คน และ  กลุ่มชุมชน  4 พื้นที่ ได้แก่  เกาะลิบง  ลำขนุน  นาหมื่นศรี  เขาหลัก - กลุ่มหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยว - กลุ่มประชาชนทั่วไปที่รับฟัง และติดตามข่าวสารในช่องทางสื่อต่างๆ - กลุ่มภาคีสื่อ ทั้งสื่อมวลชน  สื่อภาครัฐ และสื่อภาคประชาสังคม

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ตรัง = ปัญหาด้านการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่จะหนุนเสริมเรื่องการท่องเที่ยวชุมชน  เนื่องจากมีความแตกต่างและ  อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนตัวผู้นำ เช่น - ผู้ว่าราชการจังหวัดเปลี่ยนใหม่ ยังไม่ทราบทิศทางการพัฒนาเรื่องการท่องเที่ยวชุมชน ที่แน่ชัด - ผอ.การท่องเที่ยวกีฬา ย้ายมาใหม่ - ตัวผู้นำคือประธานท่องเที่ยวชุมชน จ.ตรัง มีการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหัน  ส่งผลให้ขบวนท่องเที่ยวชุมชนตรัง ดำเนินไปแบบขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางของชุมชน แนวทางแก้ไข - ควรจะต้องมีการพูดคุยหาทิศทางการพัฒนาเรื่องการท่องเที่ยวโดยภาพรวมของ จ.ตรัง ทุกๆภาคส่วน - หน่วยงานที่หนุนเสริม ควรเปิดโอกาสให้ชุมชนได้สะท้อนมุมมอง  และสิ่งที่ต้องการของชุมชนเอง โดยผ่านช่องทางสื่อ  เพื่อที่จะได้มีการรับรู้ข้อมูลไปอย่างกว้างขวาง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี