โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้
เข้าร่วมรับฟังกรอบการดำเนินงานโครงการสื่อเพื่อการขับเคลื่อนสังคมและและศึกษางานพื้นที่ อบต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา
จัดเวทีประชุมตามกำหนดการ
1. รายงานผลการวิจัย โดย นศ.ปริญาโท จาก มอ. โดยการรายงานให้กับกลุ่มตัวแทนในพื้นที่ร่วมกันวิพากษ์ และตรวจสอบ
2. นายกอบต.ควนรู รายงานผลการทำงานด้านอาหารในพื้นที่ ในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา สร้างความเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมของชาวบ้าน และเด็กเล็ก
ความมั่นคงด้านอาหาร เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคจากการศึกษานักวิจัยของ นศ.ปริญญาโท มอ.พบว่า คนควนรูมีความพร้อมและมีส่วนร่วมในการจัดการข้าวชุมชน โดยทีมงานสมาคมเข้าไปมีส่วนร่วมในการส่งเสริมด้านสื่อเพื่อผลักดันให้เกิดและเห็นกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม ความสำเร็จของโครงการ ท้องถิ่นเชื่อมโยงให้เกิดการทำงานเกิดความร่วมมือของครัวเรือนถ่ายทอดจากรุ่น สุ่ รุ่นผลักดันให้อยู่ในแผน อบต. และแผนพัฒนาสุขภาพ มีการสำรวจเรื่องการดื่มน้ำอัดลม น้ำหวาน มีการตรวจเรื่องภาวะโลหิตจางของเด็กปฐมวัยและเด็กในวัยเรียนหลังจากดำเนินโครงการมาระยะหนึ่งพบว่าภาวะเหล่านี้ลดลงโดยความร่วมมือ โรงเรียน รพ.สต.และสจรส. - มีการอบรมและให้ความรู้ของหญิงตั้งแต่ตั้งครรภ์จนคลอดและหลังคลอด - มีงบประมาณของ สปสช. - มีการจัดระบบอาหารกลางวันในศูนย์เด็กเล็กให้ได้มาตรฐาน โดยการจัดตั้งครัวรวม - มีการจัดอบรมให้บุคลากรของศูนย์เด็กเล็กโดยเฉพาะครู การจัดตารางอาหารกลางวัน โดยใช้เมนู อาหารตามตารางคำนวณสูตรอาหารกลางวัน Inmu schoollunch ทุกศูนย์จะได้รับตารางอาหารที่เหมือนกันเช่น ข้าวเล็บนกผสมกับข้าวสังหยดข้อดี คือ เด็กๆได้รับทราบปริมาณสารอาหารที่ตัวเองได้รับในแต่ละวันโรงเรียนมีการปลูกผักสวนครัวเองส่วนหนึ่ง 1. บุคลากรได้รับการพัฒนา 2. เด็กๆได้รับสารอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ เหมาะสมตามช่วงวัย 3. ผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องโภชนาการ ภาวะเกินเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์ 4. มีการตรวจมาตรฐานอาหารในโรเรียน อนาคตจะมีการขยายลงครัวเรือนให้ครบทุกครัวเรือนโดยเริ่มที่ 38ครัวเรือนทั้ง 9 หมู่บ้านและขยายให้ครบ 300 ครัวเรือนภายในปี 60
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
ผู้แทนพื้นที่ผู้แทน อปท.และนักวิชาการจาก สวสต.จำนวน 20 คน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี