สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การดำเนินงานขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดปัตตานี

การประชุมพัฒนาโครงการฉบับบย่อประเด็นอาหารและโภชนาการ รพ.สต.สะดาวา27 พฤษภาคม 2567
27
พฤษภาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yadaporn Yimkaew
  • IMG_20240527_130116.jpg
  • IMG_20240527_132653.jpg
  • IMG_20240527_141444.jpg
  • IMG_20240527_142059.jpg
  • IMG_20240527_143552.jpg
  • IMG_20240527_144525.jpg
  • IMG_20240527_150332.jpg
  • IMG_20240527_150829.jpg
  • 1716886916455.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผลการสำรวจสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร และความรอบรู้ด้านอาหารของครัวเรือน
ในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (n = 297) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ
ชาย 42 14.1 หญิง 251 84.5 ไม่ระบุเพศ
อายุ (ปี) (mean+SD) 40.3+11.5 ระดับการศึกษา
ไม่ได้ศึกษา 9 3.1 ประถมศึกษา 116 40.6 มัธยมศึกษา/ปวช. 116 40.6 อนุปริญญา/ปวส. 14 4.9 ปริญญาตรี 30 10.5 สูงกว่าปริญญาตรี 1 0.3 รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือน (บาท) น้อยกว่า 5000 77 26.1 5001 – 10000 134 45.4 10001 – 15000 45 15.3 15001 – 20000 14 4.7 20001 – 25000 10 3.4 25001 – 30000 8 2.7 มากกว่า 30000 7 2.4 จำนวนสมาชิกในครัวเรือน (คน) (mean+SD) 6.2+2.1 อาชีพ
รับจ้าง 158 53.4 รับราชการ 5 1.7 เกษตรกรรม 17 5.7 ธุรกิจส่วนตัว 18 6.1 อื่น ๆ 48 16.2 ประกอบอาชีพ มากกว่า 1 อาชีพ 50 16.9 วิธีการได้มาซึ่งอาหารของครัวเรือน ตารางที่ 2 รูปแบบการได้มาซึ่งอาหารในครัวเรือน (n = 297) รูปแบบการได้มาซึ่งอาหาร จำนวนครัวเรือน (ร้อยละ) หมายเหตุ ผลิตอาหารเอง 136 (45.8) เหตุผลที่ไม่ได้ผลิตอาหารเอง 1.ไม่มีปัจจัยการผลิต ร้อยละ 85.6 2.ไม่มีองค์ความรู้ ร้อยละ 26.3 3.ดิน น้ำไม่เหมาะกับการผลิต ร้อยละ 7.9 รูปแบบการเกษตร 1. แบบอินทรีย์ ร้อยละ 16.1 2.แบบปลอดภัย ร้อยละ 50.8 3.แบบอื่น ๆ ร้อยละ 25.8 - การเพาะปลูก 39 (93.3)
- ปศุสัตว์ 65 (49.2)
- เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด 2 (1.5)
- เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม 0 (0.0)
ความพอเพียงของอาหารที่ผลิตในครัวเรือน
- ไม่พอ 32 (23.7)
- พอเพียง 103 (76.3)
หาจากธรรมชาติ 60 (21.5) หาจากแหล่ง


  สถานการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ตารางที่ 3 ร้อยละของครัวเรือนจำแนกตามระดับความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นใน 1 เดือนที่ผ่านมา เหตุการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร ไม่เคยเกิดขึ้น น้อยครั้ง (1-2 ครั้ง) บางครั้ง (3-10 ครั้ง) บ่อยมาก (>10ครั้ง) เฉลี่ยคะแนน (mean+SD) 1 ท่านกังวล ว่าจะไม่มีเงินซื้ออาหารกินอย่างเพียงพอ 40.1 32.9 21.9 5.1 1.9+0.9 2 ท่านไม่สามารถหาอาหารที่ครบ 5 หมู่ (ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน/ไขมัน) เพียงพอสำหรับการบริโภคเพราะมีเงินหรือทรัพยากรไม่พอ 41.4 33.9 23.1 1.7 1.9+0.8 3 ท่านกินอาหารเพียงไม่กี่ชนิด (มีกิน แต่กินซ้ำๆ เดิม ๆ ไม่มีคุณภาพ) เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 40.4 34.0 21.9 3.7 1.9+0.9 4 ท่านต้องอดอาหารบางมื้อหรือกินบางมื้อน้อยลง เพราะเงินไม่พอหรือขาดทรัพยากรอื่นๆ ที่จะได้รับอาหาร (อดมื้อกินมื้อเพราะเงินไม่พอ) ไม่นับการถือศีลอด 79.3 14.9 5.4 0.3 1.3+0.6 5 ท่านรู้สึกหิวแต่ไม่ได้กิน เพราะเงินไม่พอ หรือขาดทรัพยากรอื่น ๆ สำหรับอาหาร 77.0 17.2 5.1 0.7 1.3+0.6 6 เคยมีช่วงเวลาที่ท่าน ไม่ได้กินอาหารเลยทั้งวันเพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 90.9 7.1 2.0 0.0 1.1+0.4 7 ท่านได้รับการบริจาค การช่วยเหลือด้านอาหารจากหน่วยงาน เพื่อนบ้าน หรือองค์กร 43.8 38.7 14.8 2.7 1.8+0.8 8 ครัวเรือนของท่าน ขาดแคลนอาหารหรือไม่มีอาหารที่จะกินเลย เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 83.5 12.5 3.4 0.7 1.2+0.5 9 ครัวเรือนของท่านมีอาหารกินไม่เพียงพอสำหรับสมาชิกในครอบครัวครบ ทั้ง 3 มื้อ 72.3 22.3 4.7 0.7 1.3+0.6 10 อาหารที่มีในครัวเรือน ของท่านเป็นอาหารที่มีครบ 5 หมู่ ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน) 8.8 29.1 39.5 22.6 2.2+0.9   ตารางที่ 4 การเตรียมความพร้อมของครัวเรือนเมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤติที่ผ่านมา (n= 256) การเตรียมพร้อม จำนวน (ครัวเรือน) ร้อยละ ไม่มีการเตรียมการ 102 39.8 มีการเตรียมการ 154 60.2

ความรอบรู้ทางอาหารของครัวเรือน ตารางที่ 5 จำนวน และ ร้อยละของครัวเรือนที่มีความรอบรู้ในแต่ละประเด็น
ประเด็นความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ จำนวน ร้อยละ ด้านการวางแผนและจัดการ
1 ท่านจะเอาเงินไว้สำหรับซื้ออาหารให้เพียงพอก่อนการใช้จ่ายซื้อสิ่งอื่น เช่น เครื่องประดับ เสื้อผ้า ของเล่นให้ลูก 277 93.9 2 ท่านจะคิดรายการอาหารที่จะกินไว้ล่วงหน้าเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถจะหาอาหารได้เพียงพอตามต้องการ แม้ในสภาวะที่สถานการณ์อาหารเปลี่ยนไป 251 85.1 3 ท่านตัดสินใจเลือกอาหารโดยดูจากความคุ้มค่า (มีประโยชน์ต่อร่างกาย) คุ้มราคา (เหมาะกับเงินที่มี) หรือ สะดวกในการจัดเตรียมหรือปรุง 272 92.5 ด้านการเลือกอาหาร
4 ท่านหาอาหารได้จากแหล่งต่าง ๆ ได้หลากหลาย เช่น ซื้อจากตลาด เพื่อนบ้าน ปลูก/หาได้เอง 276 94.2 5 ท่านจะอ่านฉลากเพื่อดูว่าอาหารประกอบด้วยอะไร เก็บรักษาแบบไหน และจะกินอย่างไร 195 66.6 6 ท่านจะสอบถามข้อมูลจากผู้ขายถึงแหล่งที่มา วิธีการกิน การเก็บรักษาเพื่อให้จัดการให้เหมาะสม 149 51.0 7 ท่านบอกได้ว่า อาหารชนิดใดดีหรือไม่ดีต่อสุขภาพ เมื่อทราบแหล่งที่มา หรือแหล่งผลิตอาหาร หรือองค์ประกอบ หรือจากการอ่านฉลากอาหาร 191 64.7 ด้านการเตรียมอาหาร
8 ท่านทำอาหารทานได้ไม่ว่าวัตถุดิบที่มีจะเป็นอะไร ด้วยอุปกรณ์เครื่องครัวเท่าที่มี 277 94.2 9 ท่านล้างมือทุกครั้งก่อนเตรียมอาหาร 293 99.7 10 ท่านล้างผักและเนื้อสัตว์โดยใช้น้ำไหลผ่านอย่างทั่วถึง
11 ท่านเก็บอาหารที่ทานไม่หมดไว้ในที่มิดชิด เช่น ตู้กับข้าว ครอบฝาชี หรือใส่ภาชนะที่มีฝาปิด 292 99.7 12 เมื่อกินอาหารกระป๋อง ท่านจะอุ่นทั้งกระป๋อง 286 97.3 ด้านการรับประทานอาหาร
13 ท่านรู้ว่าเด็กที่เตี้ยเป็นผลจากการกินอาหารไม่ครบถ้วน หรือกินอาหารไม่พอ 135 45.9 14 ท่านจะกินอาหารที่มีรสหวาน หรือมัน หรือเค็ม เป็นประจำ 153 52.4 15 ท่านคุมปริมาณอาหารเพื่อรักษาน้ำหนักตัวไม่ให้อ้วนหรือผอมจนเกินไป 101 34.4 16 ท่านใส่ใจกับการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน 162 55.3

ตารางที่ 6 คะแนนระดับความรอบรู้ทางอาหารในแต่ละด้าน ของครัวเรือน (n = 277) องค์ประกอบความรอบรู้ด้านอาหาร คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวางแผนและจัดการ 3 2.7 0.6 การเลือกอาหาร 4 2.8 1.2 การเตรียมอาหาร 5 4.6 0.6 การรับประทานอาหาร 4 1.9 1.2 คะแนนรวม 16 12.0 2.3 ผลการสำรวจความรอบรู้ด้านอาหารปลอดภัยของผู้ปรุงประกอบอาหาร
ในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา (n =24) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 6 25 หญิง 18 75 อายุ (ปี) (mean + SD) 47.5+9.7 ศาสนา อิสลาม 23 95.8 อื่นๆ 1 4.2 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 12 50.0 มัธยมศึกษา/ปวช. 9 37.5 อนุปริญญา/ปวสซ 1 4.2 ปริญญาตรี 2 8.3 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่า 5000 บาท 6 25.0 5001 – 10000 บาท 11 45.8 10001 – 15000 บาท 7 29.2 ลักษณะสถานบริการอาหาร โรงอาหารในโรงเรียน 5 20.8 โรงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 4.2 ร้านอาหารที่มีอาคาร สถานที่แน่นอน 9 37.5 แผงลอย/เพิงขายอาหาร (ประกอบอาหารที่แผง) 4 16.7 แผงลอย/เพิงขายอาหารปรุงสำเร็จ (ประกอบอาหารจากที่อื่น) 4 16.7 อื่น ๆ 1 4.2 บทบาทในการประกอบอาหาร ผู้จัดหาวัตถุดิบ/เครื่องปรุง 16 66.7 แม่ครัว/ผู้ประกอบอาหาร 23 95.8 ผู้กำหนดเมนู/รายการอาหาร 3 12.5 ประสบการณ์การทำงาน (ปี) (mean + SD) 11.5+6.5

การจัดหาวัตถุดิบและเครื่องปรุง ตารางที่ 2 แหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงประกอบอาหาร แหล่งที่มาของวัตถุดิบ จำนวน ร้อยละ ประเภทของวัตถุดิบที่ซื้อ ตลาด 19 79.2
ร้านค้าในชุมชน 9 37.5
รถเร่/รถพุ่มพวง 1 4.2
ผู้ผลิต (เกษตรกร) 2 8.3

พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหารของผู้ประกอบการอาหาร ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ปรุงอาหารจำแนกตามความถี่ของการปฏิบัติด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องความปลอดภัยของอาหาร พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละของผู้ตอบ หมายเหตุ ไม่ปฏิบัติ ปฏิบัติบางครั้ง ประจำปฏิบัติ
การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 1 ท่านเลือกซื้อวัตถุดิบอาหารสดจำพวกเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ในการประกอบอาหาร สดใหม่ (ประกอบอาหารหมดภายใน 1-2 วัน) 0 12.5 87.5
2 ท่านซื้อวัตถุดิบประเภทผักสด ผลไม้ จากร้านที่ได้รับมาตรฐานอาหารปลอดภัย เช่น แหล่งการผลิตหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (Q Organic) คุณภาพทางการเกษตร GAP ระบบประกันคุณภาพในระดับท้องถิ่น (PGS) 0 79.2 20.8
3 ท่านซื้อวัตถุดิบอาหารสดประเภทผัก ผลไม้ จากเกษตรกรโดยตรง 0 87.5 12.5
4 ท่านซื้ออาหารทะเล เช่น ปลา กุ้ง หอย ปลาหมึก จากผู้ขายที่มั่นใจว่าไม่มีการใส่สารปนเปื้อนในอาหารทะเล 4.2 58.3 37.5
5 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในตู้เย็นตามอุณหภูมิที่เหมาะสมแต่ละประเภทของวัตถุดิบ 0 4.2 95.8
6 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในถังน้ำแข็ง/ ภาชนะอื่นๆ 4.2 4.2 91.7
7 ท่านดูวันหมดอายุที่ฉลากสินค้าก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ 0 4.3 95.7
การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์)
8 ท่านรักษาความสะอาด (ไม่มีคราบเศษอาหารหรือคราบสกปรก) สถานที่ในการปรุงอาหาร ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน 0 4.2 95.8
9 ท่านปรุงอาหารในสถานที่ที่มีระบบระบายอากาศที่เพียงพอ เช่น มีปล่องระบายควัน หรือพัดลมระบายอากาศ 0 4.2 95.8
10 ท่านทำความสะอาดสถานที่ประกอบอาหารด้วยวิธีการ กวาด ถู เช็ด ทุกวันก่อนหรือหลังที่จะทำอาหาร 0 4.2 95.8
11 ท่านมีการจัดวัสดุอุปกรณ์ ของใช้ในครัวเป็นระเบียบ เรียบร้อย และจัดเป็นสัดส่วน 0 25 75
12 ท่านใช้น้ำยาล้างจานในการทำความสะอาดภาชนะและล้างด้วยน้ำเปล่า 2 ครั้ง 0 0 100
การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 13 ท่านเตรียมวัตถุดิบอาหารหรือวางภาชนะที่ใส่อาหารบนโต๊ะที่สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 0 25 75
14 ท่านมีการแยกวัตถุดิบระหว่างอาหารสด อาหารแห้งและอาหารปรุงสำเร็จเพื่อเตรียมปรุงอาหาร 0 25 75
15 ท่านทำความสะอาดผัก ผลไม้ ด้วยวิธีการ ปลอดภัย เช่น ล้างด้วยการเปิดน้ำไหลผ่านก่อนที่จะนำมาปรุงอาหาร/การใช้เบคกิ้งโซดา 0 33.3 66.7
16 ท่านล้างวัตถุดิบ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้รวมกันในครั้งเดียว 39.1 47.8 13.0
17 ท่านใช้เขียงอาหารดิบและอาหารสุกร่วมกันในการประกอบอาหาร 58.3 33.3 8.3
18 ท่านใช้น้ำมันเก่าผสมกับน้ำมันใหม่ในการปรุงอาหาร 62.5 25.0 12.5
19 ท่านดูแลความสะอาดของร่างกาย เช่น การสวมใส่เสื้อผ้าสะอาด สวมหน้ากากอนามัย สวมถุงมือ หมวก และผ้ากันเปื้อนที่สะอาด 0 25 75
20 ท่านมีการล้างมือด้วยสบู่/ เจลแอลกอฮอล์ ก่อนสัมผัสอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ ในการเตรียม ปรุง จำหน่ายและเสิร์ฟอาหาร 0 8.3 91.7
21 ท่านมีการใช้ประโยชน์จากอาหารเหลือทิ้งด้วยการเป็นอาหารสัตว์ หรือปุ๋ยหมัก 0 50 50
22 ท่านจัดการของเสียจากกระบวนการอาหารกลางวัน เช่นน้ำมันทอดซ้ำ น้ำล้างวัตถุดิบ เศษอาหาร ถูกหลักสุขาภิบาล 0 54.2 45.8
การขนส่ง 23 ท่านมีการจัดส่งอาหารไปสู่ผู้บริโภค โดยไม่มีฝาปิดให้มิดชิด 54.2 33.3 12.5
2.24 เมื่อท่านจัดทำอาหารปรุงสำเร็จพร้อมบริโภค มีการเก็บแยกเป็นสัดส่วน ปกปิดและไม่วางบนพื้น 0 4.2 95.8
25 ท่านให้ผู้บริโภคหยิบอาหารได้ตามใจชอบ และสามารถใช้มือหยิบในภาชนะได้เลย 83.3 8.3 8.3
26 ท่านดูแลรักษาความสะอาดของพื้นที่ บริการอาหาร/เสิร์ฟอาหาร ที่ส่งผลต่อการปนเปื้อนสู่อาหารได้ 0 41.7 58.3
27 ท่านนำภาชนะที่เคยบรรจุสารเคมีมาใช้บรรจุอาหาร เช่น ถังสี/ถังน้ำมัน 83.3 0 16.7
28 ท่านมีการปฏิบัติตามหลักสุขลักษณะส่วนบุคคล เช่น ตัดเล็บ ความสะอาดของเสื้อผ้า ไม่ไอหรือจามรดอาหาร 4.2 4.2 91.7
  ตารางที่ 4 ระดับคะแนนพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารในด้านต่าง ๆ ของผู้ปรุงประกอบอาหาร ความปลอดภัยในอาหารด้านต่าง ๆ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 21 18.3 1.4 การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์) 15 14.6 0.7 การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 30 26.0 2.8 การขนส่ง 18 16.3 1.5 รวมทั้งหมด 84 75.1 4.5

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปกิจกรรมประชุมตำบลสะดาวา วันที่27พฤษภาคม 2567
สถานที่ รพ.สต.สะดาวา เนื่องจากในพื้นที่สะดาวายังมีปัญหาด้านโภชนาการของเด็กที่ไม่ครบ 5 หมู่รวมถึงเด็กที่ไม่กินผักและวิธีการจัดการด้านอาหารของในโรงเรียนจึงได้มีการจัดทำโครงการเกี่ยวกับโภชนาการของเด็กเกิดขึ้น ผู้เข้าร่วมประชุม รพ.สต.สะดาวา -ครู -อสม. -ครูศพด. -ทหาร -ผู้ใหญ่บ้าน -กำนัน -ปลัดอบต. -ผู้ปกครองเด็ก มีการระดมความคิดเพิ่มเติมถึงกิจกรรมที่อยากให้เกิดขึ้นในชุมชน • จัดการประกวดเมนูอาหารที่ครบ 5 หมู่ประจำหมู่บ้าน • ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการคิดค้นเมนูอาหารที่เขาชื่นชอบและอยากกินโดยให้นักเรียนได้มาลงมือทำเองด้วยเมนูง่ายๆเช่นไข่เจียวทรงเครื่อง • จัดกิจกรรมทำอาหารกินเอง • ให้ความรู้แก่เด็กให้รู้จักห่างไกลอาหารที่ก่อโรคร้าย • ให้เด็กร่วมกันทำกิจกรรมกับคุณครูเช่นจัดกิจกรรมทำกับข้าวง่ายๆโดยเพิ่มผักและสารอาหารที่ครบ 5 หมู่เด็กๆจะได้เรียนรู้ไปในตัว • จัดประกวดกิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดี • ให้ความรู้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการด้านอาหาร • ประกวดคลิปวีดีโอเมนูสุขภาพ • ส่งเสริมกิจกรรมปลูกผักทั้งที่บ้านและโรงเรียน • อบรมและดูวีดีทัศน์เกี่ยวกับอาหารที่ถูกหลักอนามัย • ส่งเสริมให้มีการปลูกผักสวนครัวโดยให้เด็กครูและผู้ปกครองชุมชนมีส่วนร่วม • รังสรรค์เมนูจากผักที่ปลูก • ประกวดเมนูอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ • คัดเลือกโรงเรียนและศพดให้เป็นต้นแบบของตำบล • จัดให้เด็กและครูร่วมกันทำอาหารเช่นผักชุบไข่ • จัดอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง • จัดกิจกรรมเมนูจากผู้สูงอายุในท้องถิ่น การระดมความคิดชื่อโครงการ • โครงการปลูกทุกอย่างที่กินกินทุกอย่างที่ปลูก • โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ • โครงการพัฒนาอาหารปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ • โครงการทานอาหารให้ครบ 5 หมู่สะอาดปลอดภัยออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ • โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพ • โครงการเด็กไทยสุขภาพแข็งแรง • โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อเด็กและชุมชน • โครงการอาหารดีมีประโยชน์ • โครงการอาหารถูกหลักอนามัยสุขภาพแข็งแรงตลอดกาล • โครงการอาหารดีถูกหลักอนามัยสบายใจสบายกาย • โครงการนมเปรี้ยวนมหวานอยากให้เด็กทานจริงๆ • โครงการอาหารดีตามโภชนาการ • โครงการอาหารดีมีสุข • โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเด็กไทยมีสุขสุขภาพแข็งแรง • โครงการอาหารดีที่เด็กชอบ • โครงการเมนูดีเพื่อสุขภาพของหนูๆ • โครงการโรงเรียน/ศพดต้นแบบอาหารดีมีประโยชน์ • โครงการอาหารดีมีประโยชน์ • โครงการผักหมุนเวียนเพื่อสุขภาพ • โครงการมื้ออาหารที่มีสีสัน กลุ่มเป้าหมาย • ผู้ปกครอง • เด็ก 0 ถึง 5 ปี • ครู • คนในชุมชน • ผู้สูงอายุในชุมชน

ความรู้สึก /ข้อแนะนำ จากการมาประชุมครั้งนี้ • ได้ดูวีดีทัศน์ของประเทศญี่ปุ่นและอบต. ควรรูสามารถนำไปปรับใช้ได้ดังนี้ 1. มีการจัดระบบการจัดการด้านอาหารที่มีความพร้อมนักเรียนมีความพร้อมโรงเรียนจัดการได้อย่างมีระบบ 2. สามารถนำไปปรับใช้ในโรงเรียนและศพดได้แต่ยังมีข้อจำกัดหลายอย่าง เช่นการจัดทำแปลงเกษตรหรือการเลี้ยงไข่ไก่ไม่มีพื้นที่เพียงพอและต้องใช้เวลางบประมาณและการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง • ได้ประโยชน์และรับรู้ถึงโภชนาการของเด็กเพิ่มขึ้น • ได้ความรู้เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ • ได้รู้วิธีการเด็กๆในเมืองอยากให้ใช้ต้นแบบญี่ปุ่นมาพัฒนาใช้ในโรงเรียน • ได้ความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการสามารถนำไปปรับใช้ที่โรงเรียน • ได้ความรู้มากเกี่ยวกับอาหารที่ถูกหลักอนามัยทางโรงเรียนจะนำไปพัฒนาในเรื่องอาหารและโภชนาการของนักเรียนและจะให้ความรู้กับเด็กและแม่ครัว • ได้ความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพของเด็กๆ • อยากให้โครงการดีๆต่อยอดไปถึงโรงเรียน • ได้ความรู้หลักการดูแลโภชนาการอาหาร • ได้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการอาหารที่ดี • จะนำความรู้ไปเป็นต้นแบบในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • ได้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโภชนาการที่หลากหลายที่จะนำมาบูรณาการทำให้เด็กได้สารอาหารที่ครบถ้วนตามบริบทของชุมชน • ได้รับความรู้ถึงปัญหาที่มีอยู่ในชุมชนและได้แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าร่วมอบรมรวมถึงสามารถคิดโครงการต่อยอดและสมบูรณ์แบบมากขึ้น