โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 9
เก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนสุขภาพ รอบ 24 พฤษภาคม 2567
4
พฤษภาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย ผู้รับผิดชอบเขต 9
-
LINE_ALBUM_18767_240718_10.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_9.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_8.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_7.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_6.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_5.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_4.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_3.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_2.jpg
-
LINE_ALBUM_18767_240718_1.jpg
-
bf4ed3cf-4fb7-41ea-b7a2-ae8ac1585b4a.jpg
-
83ee747f-da31-4f3a-878d-5413c6357ad8.jpg
-
7edabc91-3aef-432d-8fef-e1fdb59df922.jpg
-
6fa8c38d-cba3-47f6-8f2f-7c6da20b42c7.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
- ประชุมชี้แจงการเก็บข้อมูลทำแผนสุขภาพ รอบ 2 วันที่ 4 พ.ค.67
- ทำความเข้าใจเครื่องมือการเก็บข้อมูล
- วิธีการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างสำหรับสัมภาษณ์ และการบันทึกข้อมูลในระบบ - วางแผนการลงพื้นที่เก็บข้อมูลแบบสอบถาม - ดำเนินการเก็บข้อมูลแบบสอบถามกองทุนสุขภาพตำบล 5 กองทุน ได้แก่ อบต.ถลุงเหล็ก อบต.โคกกลาง อบต.โคกสะอาด ทต.โนนเจริญ ทต.บึงเจริญ ช่วงระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 6 - 17 พ.ค.67
- บันทึกข้อมูลแผนสุขภาพในระบบ ช่วงระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 6 - 17 พ.ค.67
- สรุปผลการเก็บข้อมูล วันที่ 18 พ.ค.67
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
- ได้แผนการเก็บข้อมูลแผนสุขภาพและได้ดำเนินการเก็บข้อมูลตามแผนที่กำหนด
1.1 ให้นักศึกษาดำเนินการเก็บข้อมูลแผนสุขภาพ ตามเป้าหมาย 5 กองทุนๆ ละ 301 ชุด รวมเป็น 1,505 ชุด
1.2 เก็บข้อมูลเข้าใจกลุ่มเป้าหมายในการเก็บข้อมูลในแบบแบบสอบถามแต่ละชุดมีรายละเอียด ดังนี้ 1. แบบสอบถามสำหรับบุคคลเก็บข้อมูลรายบุคคลจากประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน จำนวน 200 ชุดขึ้นไปโดยกำหนดจำนวนการเก็บข้อมูลจากประชาชนในแต่ละช่วงอายุดังนี้ ช่วงอายุ5-15 ปีจำนวน 50 ชุดขึ้นไป ช่วงอายุ16-25 ปี จำนวน 50 ชุดขึ้นไป ช่วงอายุ26-64 ปี จำนวน 50 ชุดขึ้นไป อายุ65 ปีขึ้นไป จำนวน 50 ชุดขึ้นไป 2. แบบสอบถามสำหรับครัวเรือนเก็บข้อมูลจากหัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนสมาชิกครัวเรือน(ครัวเรือนละ 1 ชุดเท่านั้น) จำนวน 100 ชุดขึ้นไป 3. แบบสอบถามสำหรับชุมชนเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่จากผู้นำชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) โรงพยาบาล (รพ.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานเกษตรอำเภอ) และฐานข้อมูลออนไลน์(เช่น คลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข) ชุมชนละ 1 ชุดเท่านั้น ซึ่งได้วางแผนการเก็บข้อมูลแบบสอบถามให้กระจายครอบคลุมทุกหมู่บ้าน/พื้นที่ในชุมชน ตามสัดส่วนจำนวนครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้าน/พื้นที่ 1.3 วิธีการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม โดยผู้เก็บข้อมูลใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบสอบถามเอกสารและผ่าน App ในมือถือ แท๊ปเล็ต - ผลการเก็บข้อมูลแบบสอบถามสถานการณ์สุขภาพชุมชนและบันทึกข้อมูลลงในระบบเว็บไซต์ ดังนี้
2.1 กองทุนฯ ทต.บึงเจริญ เก็บแบบสอบถาม บุคคล 218 ชุด ครัวเรือน 105 ชุด ชุมชน 1 ชุด รวมเป็น 324 ชุด
2.2 กองทุนฯ ทต.โนนเจริญ เก็บแบบสอบถาม บุคคล 222 ชุด ครัวเรือน 112 ชุด ชุมชน 1 ชุด รวมเป็น 335 ชุด
2.3 กองทุนฯ อบต.ถลุงเหล็ก เก็บแบบสอบถาม บุคคล 217 ชุด ครัวเรือน 103 ชุด ชุมชน 1 ชุด รวมเป็น 321 ชุด 2.4 กองทุนฯ อบต.โคกสะอาด เก็บแบบสอบถาม บุคคล 215 ชุด ครัวเรือน 104 ชุด ชุมชน 1 ชุุด รวมเป็น 324 ชุด
2.5 กองทุนฯ อบต.โคกกลาง เก็บแบบสอบถาม บุคคล 212 ชุด ครัวเรือน 104 ชุด ชุมชน 1 ชุด รวมเป็น 317 ชุด - คณะทำงานระดับกองทุนได้นำข้อมูลแผนสุขภาพตำบลเพื่อวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรมโครงการที่ผ่านมา และจัดทำการพัฒนาข้อเสนอโครงการจากข้อมูลสถานการณ์ชุมชนที่มี
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ