สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 1-6

การประชุมทีมพี่เลี้ยงในการติดตามการจัดทำแผนการสร้างเสริมสุขภาวะฯกองทุนนำร่องเขต1และ327 พฤศจิกายน 2566
27
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย เพชรรุ่งเขต1
  • 18.jpg
  • 17.jpg
  • 16.jpg
  • 15.jpg
  • 14.jpg
  • 13.jpg
  • 12.jpg
  • 11.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

• ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประชุม
• แนะนำคณะทำงาน/ พี่เลี้ยง • รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ที่ผ่านมา โดย พี่เลี้ยงเขต 1-6 • แลกเปลี่ยนกระบวนการทำงานของกองทุน เขตสุขภาพที่ 1-6 (2 กองทุน) 1) การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น คุณค่าจากผลการดำเนินงาน
2) ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จและที่เป็นอุปสรรค
3) แนวทางการแก้ไขและการพัฒนา โดย พี่เลี้ยงและกองทุน
• อภิปราย แลกเปลี่ยน และร่วมกันวางแผนการดำเนินงานในระยะต่อไป
• สรุปผล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการจัดประชุม จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม  38 คน ร่วมประชุม online 11 คน 2. ในการแลกเปลี่ยนพบว่า • แบบฟอร์มที่ดีต้องใช้ความอดทน ใช้เวลา • กลไกพี่เลี้ยงช่วยสนับสนุนกลไกพี่เลี้ยงมีความจำเป็นโดยเฉพาะจากภายนอก • การพัฒนาศักยภาพคน กลไกวิชาการมีความจำเป็น  นายกฯเข้าใจผู้ช่วยเลขากองทุนมีกรรมการกองทุนเข้าร่วม workshop ทำแผนและเขียนโครงการ    อนุกรรมการช่วยในการติดตามประเมินผล และต้องการความรู้และทักษะด้านการติดตามประเมินผลอย่างมากตำบลบ้านเหล่า สูงเม่นและตำบลแม่ใส มีนโยบายของผู้บริหารสนับสนุนภารกิจเช่นการเอาข้อมูลผู้สูงอายุไปใช้ในการวางแผนร่วมกันนำไปสู่การทำธรรมนูญสังคมสูงวัย ศักยภาพของคนดีขึ้นมาก คณะกรรมการเดิมเช่นผู้บริหารกองทุนปัจจุบันท้องถิ่นเป็นผู้บริหารกองทุนเจ้าหน้าที่อบตต้องมีความเข้าใจการทำแผนและวิธีเขียนโครงการและการเชื่อมกลไกต่างๆ ข้อจำกัด ของท้องถิ่นคือโครงสร้างแตกต่างกัน คณะกรรมการกองทุนมีการนำเสนอให้กรรมการรับทราบ คนเขียนโครงการยังไม่ค่อยเปลี่ยนมีข้อจำกัดของการเขียนโครงการ  การเขียนโครงการใช้งบประมาณของส่วนใหญ่ในการให้ความรู้ การเชื่อมกลไกต่างๆระหว่างท้องถิ่นกับหน่วยงานเช่นรพสต
ชุดความรู้ยังไม่ค่อยเกิดขึ้น ข้อเสนอ  พี่เลี้ยงจะช่วยประสานเพิ่มการรับรู้การมีส่วนร่วมของกรรมการผู้รับผิดชอบควรใช้เว็บเพื่อการเรียนรู้การทำงานระหว่างพชอ /อบจ
• การใช้เครื่องมืออื่นๆเข้ามาประกอบการทำงานและควรพัฒนาต่อ