การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน
เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Pblic scoping) จังหวัดระนอง
1) ประสานงานกับผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม 2) จัดเตรียมพื้นที่และประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 3) ดำเนินการจัดกิจกรรมเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำเสนอร่างตัวชี้วัดที่จัดทำขึ้น 4) สรุปกิจกรรม
ภาคีเครื่อข่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบตรงกัน มีการกำหนดแผนงานกิจกรรมร่วมกัน เกิดแนวทางในการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1) คณะทำงาน 15 คน โดยประกอบไปด้วยผู้แทนจาก 6 ภาคส่วน คือ (1) ภาคราชการ (2) ภาควิชาการ (3) ภาคประชาสังคม (4) ภาคเอกชน (5) ภาคสื่อมวลชน (6) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองระนอง 21 คน 3) ผู้แทนกองทุนฯ 7 กองทุนๆละ 2 คน รวม 14 คน
ขาดข้อมูลสถานการณ์ปัญหาแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย/ทบทวนสถานการ์แรงงานนอกระบบจากหน่วยงานราชการ และประสานข้อมูลกับผู้รับผิดชอบโครงการ
-
-