สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

อำเภอเมือง พัทลุง

สนับสนุนการประชุมกลไก พชอ. ร่วมกับกองทุนตำบล และภาคี MoU22 กุมภาพันธ์ 2566
22
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Ariya Mosu
  • การบูรณาการกลไก พชอ.กับกองทุนตำบลขับเคลื่.pdf
circle
วัตถุประสงค์

สร้างความร่วมมือ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงทะเบียน
2.พิธีกร ดำเนินการายการ
3.นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นกิจกรรมทางกาย กองทุนต้นแบบ การบูรณาการกลไก พชอ.กับกองทุนฯ ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
4.การนำเสนอสื่อกิจกรรมทางกาย ปั่นจักรยานสร้างสุข
5.รายงานที่มา และความก้าวหน้าโครงการ ต่อประธานที่ประชุม (นายบุญชู คงเรือง นักวิชาการสาธารณะสุขชำนาญการพิเศษ รอง.นพ.สสจ.พัทลุง)
6.ทิศทางและความเชื่อมโยงการสร้างเสริมสุขภาพ ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล (พชจ-พชอ-พชต)
7.พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
8. นายสิทธิชาติ บุญปล้อง นากย อบต.ลำปำ เป็นผู้แทนผู้บริหารท้องถิ่นอ่านบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
9.นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นการจัดการอาหารปลอดภัย Videos of ชุมชนน่าอยู่บ้านหูยาน
10. เสวนาหาการสื่อสารเพื่อสุขภาพ “สื่อให้ปัง ต้องให้โดน” กับ 5 ตัวจี๊ด ประเด็น การสื่อสารกับการพัฒนากลไกระดับตำบล ระดับอำเภอ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
ผู้ร่วมเวที
1. นายสงคราม พุฒดี ปลัดอำเภอ ผู้แทนนายอำเภอ
2. ดร.กุลทัต หงส์ชะยางกูร รักษาการ ผอ.สถาบันนโยบายสาธารณะ มอ.
3. นางกชกานต์ คงชู ปลัดเทศบาลนาท่อม (กองทุนต้นแบบ)
4. นายสมนึก นุ่นด้วง ผู้ประสานงานโครงการ
5. นายสุรัตน์ ชูอักษร นายกเทศบาลตำบลนาโหนด (ทองทุนขับเคลื่อนคู่ขนานเปรียบเทียบกับกองทุนต้นแบบ)
6. นางสุพัฒน์ ทองเกต ผอ.โรงเรียนบ้านท่าสำเภาใต้ ตัวแทนกลุ่มโรงเรียนโซนเหนือ
7. นายอานนท์ มีศรี ผู้ดำเนินรายการ
11. สรุปอภิปราย/ขอบคุณ/และปิดการประชุม/

หมายเหตุ ##สนส. เป็นผู้จัดการค่าใช้จ่ายในกิจกรรม ทั้งหมด##

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ร่วมกำหนดประเด็นร่วม กำหนดประเด็นขับเคลื่อนโดย พชอ. ซึ่งเมื่อได้วิเคราะห์สถานการณ์จากแผนงานพบว่าคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำมากกว่า 5 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 39.99 คนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม ร้อยละ 39.63 คนอายุ 18 ปีขึ้นไปมีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ที่ร้อยละ 24.07
  2. หนดโครงการที่ควรดำเนินการ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลได้มีโครงการลดการกินหวาน 8โครงการ ส่งเสริมการกินผักผลไม้  7โครงการ  และโครงการลดอ้วน 7 โครงการ
  3. ภาคีร่วม โครงการหวานน้อยของเครื่องดื่มแบรนด์เนม ในร้าน Modern Trad ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้ดำเนินการมาแล้ว 30 ร้านครอบคลุมทั่วทั้งจังหวัด
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.ผู้แทนคณะกรรมการ พชอ. 10 คน
2.ผู้แทนกรรมการกองทุน 10 คน
3.นายก+เจ้าหน้าที่กองทุน 20 คน ( 10 กองทุนเป้าหมาย)
4.คณะทำงาน+วิชาการ+สื่อ 10 คน (ตามโครงการ)
5.อื่นๆ นายอำเภอ/ ท้องถิ่นอำเภอ /สาสุขอำเภอ/ สนส/สปสช รวม 10 คน
6.ผู้สังเกตการณ์ พระพรหม2/เกาะลันตา 2 รวม 4 คน
7.ทีมสื่อมวลชนจากนครศรีธรรมราช 4 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่