สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

เกษตรกรรมยั่งยืน

ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่ โมเดล BCG ระดับพื้นที่การเชื่อมงานบูรณาการพื้นที่ตำบลบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร7 มิถุนายน 2566
7
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Kero
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างทางเลือกทางนโยบายและให้มีแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่โมเดล BCG  ระดับพื้นที่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานฝ่ายบริหารและแกนนำเกษตรตำบลบ้านควนและทบทวนแผน อบต.บ้านควนเพื่อขับเคลื่อนงานแบบบรูณาการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ฝ่ายบริหารและแกนนำเข้าร่วม จำนวน 20 คน
ปัญหาพื้นที่ตำบลบ้านควนปรับเปลี่ยนการปลูกพืชเชิงเกษตรหันมาปลูกทุเรียนจึงทำให้เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำใช้เนื่องจากต้องใช้น้ำในการเกษตรเพิ่มขึ้นจึงเกิดภาวะขาดแคลนซึ่งจะแก้ไขปัญหาในทันทีไม่ได้ แต่มีบางหมู่ที่ขาดแคลนมาก คือ หมู่  3, 4 ,16, 17  ซึ่งทาง อบต.กำลังหาทางแก้ปัญหาจึงต้องมีการประสานแผนในการขับเคลื่อนงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ
    การพิจารณาเพิ่มเติมแผนองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
ขอก่อสร้างฝายน้ำล้นและสะพาน หมู่ที่ 11  จะนำเสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอก่อสร้างสะพาน    หมู่ที่ 8    ปรับปรุงซ่อมแซม   การจัดทำเวทีสัญจรของ อบต.เพื่อติดตามชุมชนและรวมถึงรับรู้รับฟังปัญหาของทุกหมู่บ้านโดยมีการเวียนไปทุกหมู่บ้านจากครั้งที่ผ่านมาทาง อบต.จะสนับสนุนงบให้หมู่บ้านละ 5,000 บาทแต่ด้วยค่าครองชีพขึ้นสูงจึงขอปรับเพิ่มเป็น 8,400 บาทและจะมีการนำแผนที่พูดคุยไปขอความคิดเห็นเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการใช้รูปแบบโมเดล BCG สู่การขับเคลื่อน     การจัดการน้ำจะมีการจัดการใน 4 รูปแบบ  แหล่งต้นน้ำ  น้ำอุปโภคบริโภค  น้ำเพื่อการเกษตร  น้ำเสีย ตามกรอบแผนพัฒนาของจังหวัดชุมพร  ปัญหาในปัจจุบันคือการปลูกพืชเชิงธุรกิจในทุกพื้นที่     แผนบ้านควน  ด้านที่ 6 เศรษฐกิจ คือการขับเคลื่อนด้านการสร้างรายได้จากผลผลิตและทำให้เกิดรายได้สู่ชุมชน  เศรษฐกิจ รายได้  จำนวนข้อมูล  แหล่งน้ำที่มีกี่ที่ ปาล์ม  16,822  การขับเคลื่อนงานด้านเศรษฐกิจจึงต้องสอดคล้องกับบริบทพื้นที่
หลักสูตรการขับเคลื่อนแผนตำบลบ้านควน ควรจะมีการขยับให้เป็นระบบ และการสร้างการมีส่วนร่วมกันของทุกฝ่ายโดยการจัดเวทีในวันที่ 17 มิ.ย 66  จะออกแบบโดยการนำข้อมูลพื้นที่และแบ่งกลุ่มโดยใช้เครื่องมือโรดแมปเป็นตัวขับเคลื่อนในการสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

แกนนำเกษตรกรและฝ่ายบริหาร อบต.บ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่