สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

ชุมชนสีเขียว

ประชุมคณะทำงานชุมชนสีเขียวในภาคใต้ คัดเลือกพื้นเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่นำร่องต้นแบบชุมชนสีเขียว2 กันยายน 2565
2
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
  • นิยามและตัวชี้วัด.doc
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำตัวชี้วัดชุมชนสีเขียว และคัดเลือกพื้นที่ที่เข้าเกณฑ์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีวาระการประชุม ดังนี้ • นำเสนอร่างนิยาม และลักษณะชุมชนสีเขียว • พื้นที่นำเสนอการทำงานที่สอดคล้องกับการเป็นชุมชนสีเขียว • สรุปการคัดเลือกพื้นที่ เพื่อพัฒนาให้เป็นพื้นที่นำร่องชุมชนสีเขียว 5 พื้นที่ ดังนี้ o ชุมชนสวนยางยั่งยืน o ชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืน o ชุมชนสวนยางยั่งยืน o ชุมชนประมง o ชุมชนลุ่มน้ำสีเขียว /ชุมชนท่องเที่ยว

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ร่างนิยาม และเกณฑ์คุณลักษณะตัวชี้วัดชุมชนสีเขียว ดังนี้
  • ชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน นิยามคือ “ชุมชนที่มีวิถีวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เป็นแหล่งสร้างความมั่นคงทางอาหาร ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีผลิตอาหารที่เพียงพอ ปลอดภัย พึ่งพาตนเองได้ การสืบทอดชนรุ่นหลัง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างสมดุลด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม”
  • ได้กำหนดคุณสมบัติประเภทของชุมชนชุมชนสีเขียวใน 5 ประเภท คือ ชุมชนสวนยางยั่งยืน ชุมชนเกษตรอัตลักษณ์ ชุมชนประมงยั่งยืน ชุมชนท่องเที่ยว และชุมชนลุ่มน้ำสีเขียว (รายละเอียดตามเอกสารแนบ)
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เครือข่ายและคณะทำงานชุมชนสีเขียวภาคใต้

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี