สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (งานบริหารกลาง)

การประชุมเชิงปฏิบัติการการออกแบบพื้นที่โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(มอ.ภูเก็ต-เขาหลัก จ.พังงา)17 พฤษภาคม 2565
17
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.การกำหนดและออกแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตภูเก็ต 2.โครงการประยุกต์ใช้แนวทางบริการทางสุขภาพแบบพหุวัฒนธรรมในสถานพยาบาลภูเก็ต การปรับปรุงโรงพยาบาลแพทย์แผนไทย 3.หารือการกำหนดและออกแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเขาหลัก การประยุกต์การบริการสุขภาพแบบพหุวัฒนธรรม 4.หารือเรื่องแบบสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การเพิ่มกิจกรรมทางกาย
  1. สำรวจข้อมูล พื้นที่
  2. ทบทวน สำรวจ
  3. แบบ 1 ไปถามความเห็น/ความต้องการของชุมชน -รอบวิทยาเขต -ในวิทยาเขต -กลุ่มองค์กร หรือ ที่จะมาใช้บริการ -- รพ. -- รพ แพทย์แผนไทย -- ศูนย์กีฬา
  4. ปรับแบบ
  5. จัดเวลา รับฟังความคิดเห็น   ออกแบบหากลไกการขับเคลื่อนให้มี PA

การนำเสนอกรอบแนวคิดเบื้องต้น 1 พื้นที่โครงการ 2 การสำรวจสภาพปัจจุบัน 3 แนวทางการออกแบบ ทำอย่างไรให้คนในพื้นที่สามารถมาใช้พื้นที่ หรือ ออกกำลังกาย หากจับกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้สุงอายุกระทู้ รวมกลุ่มกัน มีชมรมไลน์แด้นซ์ เลยทำให้ มอ. อยู่ระหว่าง ตรงกลาง
นายกกระทู้เน้นเรื่องการออกกำลังกายในกระทู้เอง มอ.ก็ต้องทำในสิ่งนี้ให้ดีขึ้น มอ. ต้องปรับปรุงสถานที่ที่ดีขึ้น สิ่งที่นัฐพูดและสำรวจมา ทาง มอ. ต้องมาถกกันว่าจะทำอะไรต่อ แล้วเราต้องเก็บคนที่ตกหล่นอยู่ที่เค้าไม่มีโอกาสได้ออกกำลังกาย หรือ มีกิจกรรม รองพันธ์ จะตั้งกรรมการ จะได้นำองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องมาช่วยขับเคลื่อน (ตามที่นัฐบอก) จะทำให้ชัดเจน เพราะว่า ทางจังหวัดก็กำลังขับเคลื่อนเรื่องนี้เพราะทางจังหวัดก็มีกรรมการจาก expo จะมาดูพื้นที่ เราจึงต้องทำกิจกรรมอะไรบางอย่าง ที่ทำให้ทุกภาคส่วนเข้ามาทำให้มีการดูแลสุขภาพ และจะได้ดูว่า ทาง มอ.ภูเก็ต จะได้นำแผนเราที่กำลังทำน้ำเสนอกรรมการ expo และจะเหมาะสมเป็นเจ้าภาพงาน wellness expo หรือไม่


ความแตกต่างระหว่าง สวนสาธารณะ คือ ใน มอ. เราจะมีในความรู้เรื่องงานวิชาการที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เช่น การออกกำลังกายที่ถูกต้อง การวิ่ง การเดินทางถูกต้องและปลอดภัย
ต้องแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่เราทำได้กับ คนภูเก็ต ไม่ใช่ได้ประโยชน์ แค่เฉพาะมหาวิทยาลัย
และสิ่งสำคัญที่แตกต่าง คือ ถ้ามามีกิจกรรมทางกาย คือ มีสะอาด และ มีความปลอดภัย ศูนย์กีฬา สระว่ายน้ำ ทำไมเด็กๆใน มอ. ไม่ค่อยมาใช้ใน มอ.
ดร.จันทนี บุญชัย เสนอ ขอทำ การตั้ง play ground กิจกรรมหรือ กลุ่มเด็กที่จะมาทำกิจกรรมร่วมกับ พ่อแม่ ในพื้นที่ ม.อ. อ๊อด เรามี รร.นานาชาติ ค่อนข้างเยอะ มีกีฬาชนิดใหม่ กีฬา เด็ก ออทิสติก เด็กโฮมสคูล


คุณสมพงษ์ สิ่งที่เราจะไปช่วย คือ
1. Product post covid การวาง poition 2. คลินิก แพทย์แผนไทย 3. ที่จอดรถ อาจดูตัวอย่างจากต่างประเทศ อาจจะมีสนาม play ground 4. วิธีการทำให้คนเดินข้ามสะพาน แต่ผ่อนแรง จะทำอย่างไร 5. หรือว่าจะมีร้านค้าของ ม.อ. อยู่ในนั้น จะเชื่อมกับสวนพฤษศาสตร์ อย่างไร ปลูก ต้นกล้า แปรรูป แล้วนำไปใช้เชื่อมต่อกันอย่างไร อบรม post covid อบรมให้แพทย์แผนไทย และผู้ประกอบการ เป็นหลักสูตร Non Degree ขึ้นมา และได้ประกาศนียบัตร ต้องสร้าง Brand ของ ม.อ. ต้องทำให้คนรู้สึกว่าต้องเป็น ม.อ.เท่านั้น product ของเรา คนต้องเชื่อมัน ต้องทำแพ็คเกจจิ้งให้ดูดี มีแบรนด์ สำหรับ local และ สำหรับ premium
อ.ฝน กำลังพัฒนาร่วมกันกับ คณะเภสัช จะเปลี่ยนรูปแบบแพ็จเกจให้ดูดีกว่าเดิม แพคเกจ ไม่ติดสติ๊กเกอร์ ต้องเป็น paint ไปเลย
ดร.จันทนี บุญชัย การออกแบบสวนสมุนไพรให้สอดรับกับธรรมชาติ การปลูกพืชที่ช่วยดูดซับคาร์บอน และจะไปดูให้เรื่อง play ground