สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการการพัฒนารูปแบบในการสร้างเสริมสมรรถนะของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ต่อการขับเคลื่อนงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กรณีสามจังหวัดชายแดนใต้

ประชุมทีมงานครั้งที่ 415 ธันวาคม 2564
15
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย sulaiman
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วางแผนการทำงานร่วมกันและสรุปผลการประชุมคณะกรรมการกำกับทิศ ครั้งที่ 1

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประเด็นในการประชุมกากับทิศ ครั้งที่ 1

  • เห็นภาพรวม

  • เห็นทีม และบทบาทของพี่เลี้ยง

  • ได้ไอเดีย และรู้แนวทางเพิ่มเติม เพื่อพัฒนางานอย่างไรต่อไป

  • เซ็ต ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศ เป็นทุก 3 เดือนครั้ง เพื่อให้ที่ประชุมได้กากับทิศทางการดาเนินงานและชี้แนะในประเด็นการทางานของโครงการที่สำคัญ

  • การประชุมวันนี้ ทีมยะหริ่ง ไม่ได้เข้า โดย

o ทีมยะหริ่ง ทำงานกับพื้นที่ได้ดี มีการประสานคุยงานกับทีมในพื้นที่ เน้นตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง และมีชุดกิจกรรม

o มี 9 โครงการ ประเด็นตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใช้เงินตำบลทั้ง 9 โครงการ

  • โครงสร้างทีมทำงาน ใน เฟส 2 มีโครงสร้างทีมงาน 4 ส่วน ดังนี้

▪ ทีม คกก.กำกับทิศ

• มีหน้าที่การกำหนดทิศทางการทางานให้สอดคล้องกับแหล่งทุน และพื้นที่

▪ ทีมวิชาการ

• มีการเปลี่ยนแปลงทีมวิชาการและมีคนเข้ามาใหม่

• หน้าที่ ประเมินและปรับโมดูล

▪ ทีมภาคสนาม

• มีหน้าที่ขับเคลื่อนการประเมิน ในกลุ่ม

o พี่เลี้ยงแต่ละชุมชน

o ทีม พชอ. ทีมนี้จะมีพี่เปิ้ลคอยช่วย เพื่อให้ พชอ. เขียนโครงการโดยใช้งบกองทุนตำบลได้

ทีมสื่อ

• ดูข้อมูลจากทีม คกก. กำกับทิศ และทีมวิชาการ ว่ากำกับทิศอย่างไร จะสร้างเนื้อหาอย่างไร

• จัดทำสื่อ และส่งให้ทีมภาคสนามได้นำไปใช้ เพื่อดูประเด็น เนื้อหาสาระ ก่อนเผยแพร่ต่อไป


เรื่องหาทีมพี่ลี้ยง อีก 15 อำเภอ (ชุดใหม่)

  • แจ้งหนังสือถึงนายอำเภอกับ สสอ. เพื่อให้ พชอ. หรือ พชต. สมัครเข้ามา และเราต้องไปทางเลือกด้วย คือหาเครือข่ายภาคประชาสังคมมาร่วมค้นหาพื้นที่

  • ส่วน สสจ. และ ผู้ว่า ทำหนังสือเรียนแจ้งเพื่อทราบ (ให้ได้ข้อสรุปจากอำเภอ แล้วค่อยเรียนแจ้งผู้ว่าฯ จากนั้นค่อยทำ MOU ระดับจังหวัดต่อไป)

๑. ทำหนังสือแจ้งให้ทราบและคัดเลือกพื้นที่(อำเภอหรือตำบล)

๒. สำเนาหนังสือถึง สสอ.เพื่อสมัครเข้าร่วมโครงการ (เราคัดให้เหลือเพียง ๑๕ อำเภอ)

๓. หากถึงเวลาแล้วยังไม่ได้พื้นที่เลย เราต้องเข้าไปหาเอง และถามเครือข่าย เพื่อหา อาเภอหรือตาบลมาร่วมโครงการ