สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.บ้านควน

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1.1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ จำนวน 1 ครั้ง 24 มิ.ย. 2564

 

 

 

 

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานโครงการ- จัดทำข้อมูลและฐานข้อมูลชุมชน (ทำงานร่วมกับโครงการพัฒนาตำบลแบบบูรณาการ ของกรมการปกครอง) และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อนำข้อมูลใช้วางแผนและตัดสินใจจัดทำแผน แนวทาง และงบประมาณสนับสนุน 24 มิ.ย. 2564

 

 

 

 

 

2.1 การประชุมเกษตรกร ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ร้านค้า กลุ่มอาชีพในตำบล จำนวน 1 ครั้ง 24 มิ.ย. 2564

 

 

 

 

 

2.2 ปฏิบัติการยกระดับการผลิต การแปรรูปผลผลิตการเกษตรในชุมชน 24 มิ.ย. 2564 8 ก.ย. 2564

 

1.พืชแซมยาง 2.พืชปันสุข 3.ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน 1.พืชแซมยาง วันที่จัดโครงการ 08-09/09/2021 กรกฎาคม : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง สิงหาคม : พัฒนาศักยภาพเกษตรกรชาวสวนยาง 10 คน - อบรมให้ความรู้การปลูกพืชร่วมยางระยะสั้น - อบรมการทำบัญชีครัวเรือน - อบรมปุ๋ยอินทรีย์ชุมชน สิงหาคม -กันยายน :
- การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพเกษตรกรเพื่อสร้างแปลงต้นแบบ - การทำแปลงพืชร่วมยางเพื่อเพิ่มรายได้ให้ประชาชน กันยายน - ตุลาคม : - เก็บเกี่ยวผลผลิต - นำจำหน่ายสู่ตลาดเพื่อเพิ่มรายได้ ตุลาคม : บันทึกผลผลิต,ระยะเวลาเก็บเกี่ยว,บันทึกรายรับครัวเรือน/รายจ่ายครัวเรือน พฤศจิกายน – ธันวาคม :
- ติดตามและประเมินผล 1 ครั้ง/เดือน - สรุปผลการติดตาม - แก้ไขและพัฒนาต่อไป 2.พืชปันสุข วันที่จัดโครงการ 21-22/09/2021 กรกฎาคม : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง สิงหาคม : พัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย 40 คน - อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกพืชสวนครัว
- อบรมการทำบัญชีครัวเรือน สิงหาคม -กันยายน
- วางแผนการเพาะปลูกและคำนวณระยะเวลาการให้ผลผลิต - ออกแบบเมนูปฏิทินกินผักของชุมชน
- ดำเนินการเพาะปลูกพืชแต่ละครัวเรือนโดยปฏิบัติการสาธิตทดลอง แปลงต้นแบบ 1) ปรับหน้าดิน/ทำแปลงปลูก 2) เพาะเมล็ด/ต้นกล้า
กันยายน - ตุลาคม
- เก็บเกี่ยวผลผลิต - นำจำหน่ายสู่ตลาดเพื่อเพิ่มรายได้ - แบ่งปันผักสวนครัวกับเพื่อนบ้าน/กลุ่มเปราะบาง ตุลาคม : บันทึกผลผลิต/ระยะเวลาเก็บเกี่ยว/บันทึกรายจ่ายครัวเรือน/รายจ่ายด้านอาหารต่อครัวเรือน/คำนวณการลดค่าใช้จ่ายด้านอาหาร พฤศจิกายน – ธันวาคม
- ติดตามและประเมินผล 1 ครั้ง/เดือน - สรุปผลการติดตาม - แก้ไขและพัฒนาต่อไป 3.ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน วันที่จัดโครงการ 12,17/11/2021 กรกฎาคม : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง สิงหาคม : อบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์ชุมชน สิงหาคม -กันยายน : สร้างจุดเก็บเศษอาหารจากครัวเรือน - ผลิตปุ๋ยเศษอาหารจากครัวเรือนของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม กันยายน – ตุลาคม : แต่ละครัวเรือนเพาะปลูกพืชสวนครัว/และรับปุ๋ยอินทรีย์ไปปลูก/ในรอบต่อไปเอาผักมาแลกปุ๋ย/ผักปันสุขแจกจ่ายให้ชุมชน ตุลาคม : บันทึกผลผลิต/ระยะเวลาเก็บเกี่ยว/บันทึกรายจ่ายครัวเรือน/รายจ่ายด้านอาหารต่อครัวเรือน/คำนวณการลดค่าใช้จ่ายด้านอาหาร พฤศจิกายน – ธันวาคม
- ติดตามและประเมินผล 1 ครั้ง/เดือน - สรุปผลการติดตาม - แก้ไขและพัฒนาต่อไป

 

1.พืชแซมยาง
พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 10 คน ค่าเฉลี่ยเก็บเกี่ยวผลผลิต มะพร้าว ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 9.5 กก. กล้วยไข่ ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 1.5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 8.5 กก. ขมิ้นชัน ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.9 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ขิงใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.6 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ข่า ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.6 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ฟ้าทะลายโจร ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. ผักเหลียง ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.5 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0 กก. กระชาย ใช้ประโยชน์ด้านบริโภค 0.15 กก. ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 0.95  กก. ไม้พยุง ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 219,500 กก. ไม้ยางแดง ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 20,600 กก. ไม้สัก ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 1,540 กก. กาแฟใช้ประโยชน์ด้านการขาย 1,540กก. และ สับปะรด ใช้ประโยชน์ด้านการขาย 10 กก. 2.พืชปันสุข ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คนมีค่าเฉลี่ยการลดค่าใช้จ่ายอาหารของผู้ตอบแบบสอบถาม 40 คน อยู่ที่ 610 บาทต่อเดือน และค่าเฉลี่ยด้านรายได้จากการจำหน่ายอยู่ที่ 1,018 บาทต่อเดือน 3.ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะเศษอาหารสู่ชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 21 คน ได้นำปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตมาใส่ในแปลงผักหรือสวน คิดเป็นร้อยละ 100 และลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย 300 - 500 บาท จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 52.5 รองลงมา 1,000 – 3,000 บาท จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 14.4 รองลงมา น้อยกว่า ๑00 บาท จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5 รองลงมา  100 – 300 บาท จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5 รองลงมา 500 – 700 บาท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7 รองลงมา 700 – 1,000 บาท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7 และ มากกว่า 3,000 บาท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7

 

2.3 การติดตามประเมินสภาพแวดล้อม แหล่งผลิตอาหารของชุมชน การผลิตสินค้า OTOP 24 มิ.ย. 2564

 

 

 

 

 

2.4 พัฒนาการตลาด การสร้างกลไก Matching Model 24 มิ.ย. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน พฤศจิกายน : ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง ธันวาคม : - อบรมการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนที่ดี - อบรมกระบวนการผลิต/ราคาและปริมาณ - อบรมรูปแบบ packaging - อบรมช่องทางการจัดจำหน่าย/กลุ่มลูกค้า เป้าหมาย

 

พบว่าผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 20 มีความพึงพอใจด้านการฝึกอบรมที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก และความพึงพอใจด้านวิทยากรในการจัดอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

 

ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ 9 ก.ค. 2564 9 ก.ค. 2564

 

ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ

 

แลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ ได้แก่ 1. พืชร่วมยาง ปลูกกาแฟ พืชสมุนไพรฟ้าทะลายโจร กระขายขาว
2. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มรับจ้างทั่วไป กลุ่มเปราะบาง โดยการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือน / พืชปันสุข
3. พัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน เรื่องการบริหารจัดการ การตลาดดิจิทัลกาแฟ

 

ประชุมพัมนาการตลาดกาแฟชุมชน 30 ก.ค. 2564 29 ก.ค. 2564

 

ประชุุมพัฒนาการตลาดกาแฟชุมชน

 

  • การทำช่องทางในการจำหน่าย ขายของที่เค้ามีอยู่
  • ชื่อเเบรนด์ที่ชัดเจน
  • การทำตลาดออนไลน์ กระบวนการขาย
  • หากลุ่มลูกค้าหลัก

 

โครงการพืชแซมยาง 8 ก.ย. 2564