พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะ
1.เพื่อต้องการให้เห็นการจัดการนำทั้งระบบโดยชุมชนการนำไปสู่พื้นที่จัดการตนเอง 2. เพื่อให้เห็นกระบวนการในการจัดทำนโยบายสาธารณะและการใช้กระบวนการประชาเข้าใจ
เปิดเวทีสาธารณะ โดยมีผู้เข้าร่วมจากพื้นที่ 20 พื้นที่ และมีผู้แทนเข้าร่วม จากภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาสังคม และภาควิชาการ โดยให้มีการตั้งคำถามในการเสวนาและให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและใช้การสื่อสารสาธารณะเพื่อให้คนที่ติดตามได้เห็นผ่านช่องทางการสื่อสาร และ มีการลงพื้นที่ให้เห็นความสำเร็จในการสร้างฝายและการใช้ประโยชน์การการสร้างฝายมีชีวิตในพื้นที่ตำบลวังอ่าง
1.ความร่วมมือจากภาคี
2.ได้เห็นประโยชน์จากการจัดการน้ำโดยการสร้างฝายมีชีวิต
3.การพัฒนาให้เป็นนโยบายสาธารณะ
4.เกิดการรับรู้ในวงกว้างของผู้ชมรายการทั้งรายการสดและชมย้อนหลังโดยดูจากสถิติผู้เข้าชมรายการ ผ่านช่องทางออนไลน์ เรื่องการจัดการน้ำโดยชุมชนเพื่อแก้ปัญหาภัยพิบัติและน้ำใช้เพื่อการเกษตร
5.เป็นส่วนหนึ่งในการตั้งคำถามให้เกิดการแสดงความคิดเห็น ทำให้ทราบปัญหาและความที่ต้องการจากชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
3.สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ที่ 5 นครศรีธรรมราช
4.กองทัพภาคที่ 4
5.กรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครศรีธรรมราช
6.สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอชะอวด
7.ตัวแทนฝายมีชีวิต อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
8.สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน สำนักงานภาคใต้
9.ตัวแทนการจัดการน้ำทั้งระบบ
10.สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาค จังหวัดนครศรีธรรมราช
11.สำนักงานชลประทานที่ 15
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี