สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะ

เวทีสื่อสารสุขภาวะทางสังคม ประเด็นอาหารปลอดภัยและวิถีฅนสายน้ำปากพนังสร้างสุข สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน17 สิงหาคม 2561
17
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง
circle
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแลกเปลี่ยน เติมเต็ม และพัฒนาบทบาทการทำงานร่วมของเครือข่ายองค์กรชุมชนและภาคีความร่วมมือในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมลุ่มน้ำปากพนัง 2. พัฒนาแนวทางการประสานงาน การดำเนินกิจกรรม และการสร้างภาคีความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เวทีเสวนา เหลียวหลัง แลหน้า วิถีฅนสายน้ำปากพนังสร้างสุข สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ผู้ร่วมเสวนา 1.ร.ต.สุภาพร ปราบราย ประธานขบวนสภาองค์กรชุมชนภาคใต้ 2.นายเดโช พลายชุม ตัวแทนภาคประชาสังคมสายน้ำปากพนัง 3.นายอุดม ไชยภักดี ผู้แทนชมรมผู้บริหารท้องถิ่นอำเภอชะอวด 4.นายชินวัฒน์ สุวรรณเลิศ นายกสมาคมเครือข่ายรักษ์สายน้ำปากพนัง 5.นายประทีป หนูนุ้ย เกษตรอำเภอชะอวด 6.นายวิชัย ณสุวรรโณ ผอ.พอช. (องค์การมหาชน) ภาคใต้ 7. ผู้แทนกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 8.นางจินตนา สังข์แก้ว ผอ.กศน.อำเภอชะอวด 9.นายวิรชัช เจ๊เหล็ม นายกสมาคมประมงพื้นบ้านหัวไทร 10.นายพยุงศักดิ์ วรรโณทัย ผู้แทนเครือข่ายรักษ์ป่าต้นน้ำสายน้ำปากพนัง นายอานนท์ มีศรี นายกสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  ผู้ดำเนินการเสวนา 2. กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ เช่น การออกร้านแสดงสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ชุมชน อาหารสาธิต สวัสดิการและการเงินกองทุนชุมชน สื่อชุมชนท้องถิ่น ฯลฯ 3. นิทรรศการผลการดำเนินงานของแต่ละเครือข่าย และหน่วยงานภาคี 4. กิจกรรมทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิลและการประกวดสิ่งประดิษฐ์จากขยะรีไซเคิล 5. การแสดงดนตรีพื้นบ้านและดนตรีสากล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เครือข่ายเห็นบทเรียน และพัฒนาการ ความสำคัญ ปัญหา ผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและวิถีคนลุ่มน้ำปากพนังในภาพรวมร่วมกัน 2.ได้แนวทางการประสานงาน รูปแบบและแนวทางการดำเนินกิจกรรม ตลอดจนเห็นภาคีความร่วมมือในการจัดการพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง 3.เครือข่ายและภาคีความร่วมมือได้นำเสนอและบอกเล่าเรื่องราวดีๆที่ผ่านมาให้คนอื่นๆ ได้รับรู้ 4.เกิดการสร้างการมีส่วนร่วมโดยใช้การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของวิถีฅนสายน้ำ ตั้งแต่ กลางน้ำ ต้นน้ำ ปลายน้ำ ที่ใช้ประโยชน์ทรัพยากรร่วมกัน 5.สภาพปัญหา และความรู้เรื่องโภชนาการอาหารและวิกฤตของคนไทยที่บริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยส่งผลกระทบต่อการเกิดโรค 6.ความตระหนักต่อ สถานการณ์ อาหารที่ไม่ปลอดภัยในลักษณะต่างที่มีผลกระทบต่อคนทุกช่วงวัย


circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 200 คน จากที่ตั้งไว้ 200 คน
ประกอบด้วย

1.องค์กรชุมชน และประชาชน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง
2.องค์กรเอกชน/ภาคประชาสังคม 3.ผู้ประกอบการเอกชน และภาคธุรกิจ 4.หน่วยงานราชการ ท้องที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. นักวิชาการ สถาบันศึกษาและครู-อาจารย์ 6. เด็กและเยาวชน 7. สื่อมวลชน 8. เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 9.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช 10.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี