พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะ
1.เพื่อต้องการให้เห็นถึงการบริหารการจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 2.เพื่อการรับรู้และเป็นแนวทางในการดำเนินการต่อในพื้นที่อื่นๆ
ลงพื้นที่ร่วมเวทีประชาเข้าใจเนื้อหา กระบวนการ ผลิตชิ้นงานประกอบ รูปแบบสารคดีเชิงข่าว
ความมั่นคงทางอาหารกับการสร้างฝายมีชีวิต
มีกลุ่มชาวบ้าน น้อมนำแนวคิดเรื่องการบริหารการจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ ของในหลวง ร.9 มาปรับใช้ โดยมีการสร้างฝายเก็บน้ำผ่านการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และได้มีกลุ่มนักศึกษาร่วมกันซ่อมแซม ฝายมีชีวิตในบริเวณคลองบ้านตาล เป็นการสืบทอดแนวคิดนี้
คลองบ้านตาล เป็นจุดเรียนรู้ที่ช่วยเติมเต็มในระบบการความคิดของการลุกขึ้นมาจัดการตนเอง ไม่ว่าจะเป็นสาขา วิชา อาชีพใดๆ ก็ใช้หลักคิดของฝายมีชีวิตภายใต้ปรัชญาพอเพียง ของในหลวง ร.9 ได้
เป็นกิจกรรมการเรียนรู้สู่ห้องเรียนชุมชนและการพัฒนา ซ่อมแซมฝายมีชีวิตของชุมชนคลองบ้านตาล โดยผู้เข้าร่วมได้สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเรื่องของกระแสพระราชดำริตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งกลุ่มชาวบ้านได้น้อมนำกระแสพระราชดำรัสการจัดการน้ำอย่างเป็นอย่างระบบ โดยการมีส่วนร่วมในชุมชน
ผลผลิต :มีผลงานสื่อสารในรูปแบบของ สารคดีเชิงข่าว
ผลลัพธ์ :มีการสื่อสารผ่านช่องทางสื่อสาธารณะและเป็นผลงานเพื่อการใช้ในการนำเสนอให้กับพื้นที่อื่นๆ
:ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยฝายมีชีวิต ที่เกี่ยวโยงกับความมั่นคงด้านอาหาร และระบบนิเวศน์ที่สร้างความยั่งยืนต่อระบบอาหาร
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
1.เครือข่ายฝายมีชีวิต
2.เครือข่ายความมั่นคงทางอาหาร
3.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช
4.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี