ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ

banner1


ข่าวประชาสัมพันธ์ ศวสต.

สื่อรณรงค์ ช่วยกันสู้โควิด วิธีดูแลตัวเอง และ คู่มือวัคซีนสุ้โควิด ฉบับประชาชน

@7 พ.ค. 64 16:40
ชวนคนไทยการ์ดอย่าตก สสส ส่งสื่อรณรงค์คู่มือวัคซีนสุ้โควิด ฉบับประชาชน ช่วยกันสู้โควิด สู้ โควิด ไปด้วยกันวิธีดูแลตัวเอง-เพื่อรับมือไวรัสโคโรนา-19ที่ มา สสส

สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. ร่วมมือกับ กยท. พัฒนาศักยภาพเกษตกรพืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

@7 เม.ย. 64 12:31
สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. ร่วมมือกับ กยท.จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดกระบวนการพัฒนาศักยภาพเกษตกรพืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช และลงพื้นที่ดูงาน การสร้างแปลงต้นแบบวนเกษตรยางพารา เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 ณ. อ.ถ้ำพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราช

สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. จับมือ 10 อปท. ใน อ.แว้ง อ.สุไหงปาดี และ อ.สุไหงโกลก ดำเนินแผนงานตำบลบูรณาการระบบอาหา

@7 เม.ย. 64 12:19
สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. จับมือ 10 อปท. ใน อ.แว้ง อ.สุไหงปาดี และ อ.สุไหงโกลก ดำเนินแผนงานตำบลบูรณาการระบบอาหาร เพื่อให้ชุมชนมีความมั่นคงทางอาหาร บริโภคอาหารที่ปลอดภัย และคนในชุมมชนมีโภชนาการที่สมวัย วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564 ณ. สำนักงานเทศบาลตำบลแว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส

คณะกรรมการกำกับทิศ ศวสต และคณะ ลงพื้นที่ จ.พังงา (15/2/62)

@16 ก.พ. 62 07:06
คณะกรรมการกำกับทิศโครงการ ศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.อ.) และคณะ ลงพื้นที่ ทำงานของเครือข่าย ชุมชนมอแกนบ้านทับตะวัน อ.ตะกั่วป่า และ ศูนย์ป้องกันภัยพิบัติ บ้านน้ำเค็ม อ.เขาหลัก จังหวัดพังงา วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562

ทีมศวสต ลงจัดเวทีในพื้นที่ ในขั้นตอนการกลั่นกรองโดยสาธาณะ (Public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธาธาณะ (Public scoping)

@21 ธ.ค. 61 12:14
ทีมศวสต. สจรส.ม.อ. ร่วมกับ ทีมพี่เลี้ยง/ทีมนักประเมินฯ ประชุมเตรียมงาน และจัดเวทีในพื้นที่ ในขั้นตอนการกลั่นกรองโดยสาธาณะ (Public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธาธาณะ (Public scoping) สำหรับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษาโครงการปัจจัยเสี่ยงโซนภาคใต้ตอนบนระหว่างวันที่ 18-20 ธันวาคม 2

หัวข้อทั้งหมด

การดำเนินกิจกรรมโครงการ

  • โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการสื่อสารสาธารณะ (อีสาน,อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ)

    การประชุมเชิงปฏิบัติการในการเขียนแผนและโครงการเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายและจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่อง อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ : -@22 ก.ค. 67 18:32
  • โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการสื่อสารสาธารณะ (อีสาน,อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ)

    การประชุมเชิงปฏิบัติการในการเขียนแผนและโครงการเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายและจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่อง อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ : -@22 ก.ค. 67 18:31
  • โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11

    สรุป ถอดบทเรียนโครงการ : กองทุนทั่วไป 5 กองทุน (ออกจากการเข้าร่วมโครงการในปี 2567 จำนวน 3 กองทุน)รับเพิ่ม 1 กองทุน กลไกพี่เลี้ยง 6 คน พี่เลี้ยงระดับจังหวัด  3 คน พี่เลี้ยงระดับกองทุน 3 คน อบต.เกาะขันธ์ แผนงาน.......10.............แผน โครงการตามแผนที่กำหนดและได้รับอนุมัติ 7 โครงการ อบต.ขอนหาด แผนงาน..........10..........แผน โครงการตามแผนที่กำหนดและได้รับอนุมัติ 6 โครงการ ทต.ชะอวด แผนงาน......10..............แผน โครงการตามแผนที่กำหนดและได้รับอนุมัติ  8โครงการ@21 ก.ค. 67 07:22
  • โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11

    เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ครั้งที่ 2 : ได้ข้อมูลไม่น้อยกว่าที่กำหนด 3 กองทุน เกาะขัน ขอนหาด ชะอวด@21 ก.ค. 67 06:50
  • โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

    ค่าตอบแทนคู่สัญญา งวด 3 : ค่าตอบแทนคู่สัญญา งวด 3@19 ก.ค. 67 14:49
  • งานบริหารกลาง โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามการสรุปงานโครงการจังหวัดพัทลุง : (อำเภอศรีนครินทร์) ปี 66 เขียนอนุมัติ 84 อนุมัติ 80 ปี 67 เขียนอนุมัติ 90 อนุมัติ 79 (อำเภอกงหรา) ปี 66 ขออนุมัติ 251 อนุมัติ 281 (มีโครงการขอผ่านกระดาษ) ปี 67 ขออนุมัติ 286 อนุมัติ 240 (ไม่พบโครงการขอผ่านกระดาษ) (กลไกการทำงาน) พี่เลี้ยงกองทุน                                  พี่เลี้ยงจังหวัด                                      ผู้ประสานงาน - ดูแลผลลัพธ์                        -  ดูแลพี่เลี้ยงดูแลผลลัพธ์กองทุน            -  วางแผนและบริหารกิจกรรม/ผลลัพธ์ - แนะนำพัฒนาผู้ขอรับทุน          -  ประสานงานระดับอำเภอละ 1 คน        -  ประสานกลไกระดับเขต - เสนอแนะแก่คณะทำงาน          -  ยกระดับพัฒนาเป็นวิทยากรทุกคน ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ปัจจัยความสำเร็จ ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ และผลผลิต/ผลลัพธ์ (อำเภอกงหรา) ปัจจัยนำเข้า คน และมีการแต่งตั้งคณะ งบประมาณ กระบวนการ - คณะกรรมการมีการเอาระเบียบมานั่งทำความเข้าใจรวมกัน และต้องมีฐานความรู้ - การไปดูงานที่อื่นแล้วมาปรับใช้ - มีการลงปฏิทิน - มีแผนของการดำเนินของหลักสุขภาพกองทุน ปรับต่าง ** มีการสอนการเขียนโครงการผ่านระบบ ปัจจัยความสำเร็จ - คณะกรรมการ มีส่วนสำคัญ ข้อจำกัด - มีการปรับข้อจำกัดในการเข้าถึง - การประชาสัมพันธ์ที่ไม่ทั่วถึง ข้อเสนอแนะ - การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้มีความหลากหลายแก่ผู้รับทุน ปรับต่าง  **มีการประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มขึ้น ผลลัพธ์/ผลผลิต - การเขียนโครงการไม่กระจาย - ประชาชนรู้ข่าวสารมากขึ้น - มีการขอรายงานผ่านระบบที่เพิ่มขึ้น (อำเภอศรีนครินทร์) ชุมพล บางนา และอ่างทอง ปัจจัยนำเข้า คน งบประมาณ และการบริการจัดการ กระบวนการดำเนินงาน - จัดอบรมให้ความรู้ - ติดตามความก้าวหน้าโครงการ - มีการประชุมคณะกรรมการทุกเดือน ปัจจัยความสำเร็จ - ผู้บริหารให้ความสำคัญ - ผู้ขอรับทุนสามารถดูได้ในเว็บ - มีการขอทุนในหลากหลายกลุ่ม - มีกลุ่มที่ของบเพิ่มขึ้น - มีการดูแลและพัฒนาขึ้น ข้อเสนอแนะ - มีการประชาสัมพันธ์เรื่องการขอรับทุนที่เพิ่มขึ้น ผลผลิต - ใช้งบประมาณที่เหมาะสม - มีความสำเร็จในการโครงการ - มีโครงการที่ตามแผนแต่ละพื้นที่ ประเด็นพชอ.ในพื้นที่ มีการขับเคลื่อนประเด็น PA และอหารที่เป็นผลเห็นชัด (อำเภอควนขนุน) ชะม่วง นายาง บ้านสวน ปัจจัยนำเข้า คน :  ภาษีเครือข่าย สตรี ผู้สูงอายึ อสม เจ้าหน้าที่กองทุน                 งบ : สสส งบ อบจ กองทุนหมู่บ้าน                 การบริหารจัดการ กระบวนการทำงาน - มีการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง - พี่เลี้ยงจังหวัดมีการให้ความรู้แก่ผู้รับทุน - มีการเขียนโครงการ - มีการประเมินโครงการ - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลในกองทุน - อนุกรรมการคัดกรอง - มีการสื่อสารในตำบล ปัจจัยสำเร็จ - ผู้นำเข้มแข็ง - เจ้าหน้าที่ได้มีการพัฒนาตลอด - โครงการในเว็บ 100 % ข้อจำกัด - ความขัดแย้งภายใน - มีการเตรียมและกระจายความรู้ที่เพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะ - อธิบายการทำงานอย่างเข้าใจ ผลผลิต - คณะกรรมการได้รับการพัฒนาที่เพิ่มขึ้น - มีการพัฒนาเยอะ - มีการเข้าถึงแก่ผู้ขอทุน@19 ก.ค. 67 11:11
  • งานบริหารกลาง โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    ประชุมการดำเนินการพื้นที่เขต 10 : การแก้ไขปัญหาหอยเชอร์รี่จำนวนมาก วันละ 7 /ตัน ของบ้านตระกาจ - กระถางปลูกต้นไม้ที่แปรรูปจากหอยเชอร์รี่ - ทำเครื่องปั้นดินเผา - ทำดินปลูกผงที่แปรรูปจากหอยเชอร์รี่ - ถนนที่ทำจากการแปรรูปจากหอยเชอร์รี่ มาเป็นส่วนผสมหลัก - ทำอิฐจากหอยเชอร์รี่ ปัจจุบันจำนวนหอยเชอร์รี่มีจำนวนลดลง เหลือเพียง 5000 ตัน@19 ก.ค. 67 10:53
  • งานบริหารกลาง โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    ประชุมวางแผนการทำสื่อนำเสนอบทเรียนที่ดี : ยางขี้นก)   โครงการที่เน้นคือ การดูแลคุณภาพชีวติพี่น้องในพื้นที่ กว่า 4000 คน เน้นย้ำถึงการดูแลผู้สูงอายุ/เยาวชน  มี 4 องค์กรหลักในการขับเคลื่อนร่วมกัน - เด็กและเยาวชน มีกิจกรรมทางกายที่สอดคล้องกับโครงการรักโลก “โครงการปั่นรักษ์โลก” เป็นการปลูกฝังให้เยาวชนอนุรักษ์ทรัพยากรในพื้นที่ และสร้างเสริมรายได้ให้กับเด็กโดยอิงจากวัตถุดิบที่มีในพื้นที่ สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตที่ครอบครัวทำร่วมกัน โดยเน้นการปลูกฝังและการอนุรักษ์สิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่เพื่อนำมาต่อยอดเป็นรายได้ภายในครอบครัว ทั้งนี้จุดเริ่มต้นเกิดจากการชักชวนของกลุ่ม อสม และเป็นผลที่เกิดขึ้นในช่วงเทศกาลส่วนมาก แต่ในพื้นที่บ้านหนองใหญ่ ยังมีการปั่นจักรยานในพื้นที่ และเป็นวิธีที่เด็กทุกคนยังทำอยู่ สืบเนื่องจากการปลูกฝังจากผู้ใหญ่ในพื้นที่ที่อยากส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้แก่เด็ก และยังอยากปลูกฝังการอนุรักษ์ธรรมชาติและการจัดการขยะในพื้นที่ ซึ่งถือเป็นการบูรณาการให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน - วัยรุ่น/วัยกลางคน เน้นย้ำเรื่องกิจกรรมทางกาย มุ่งเน้นเรื่องการออกกำลังกาย การเต้นแอโรบิค - ผู้สูงอายุ เน้นเรื่องการออกกำลังกาย กายอุปกรณ์ และเป็นผลที่เกิดขึ้น 3 วัน/สัปดาห์ และมีการใช้กลไกผู้นำในการขับเคลื่อน นอกจากกิจกรรมทางกาย ยังมีการเน้นย้ำเรื่องการจัดการขยะ พื้นที่อยากให้ช่วยเรื่องกิจกรรมทางกาย และการเน้นเรื่องสิ่งแวดล้อมด้วย (สหธาตุ)     โครงการที่เน้น คือ การจัดการขยะ  มีการทำกองทุนธนาคารขยะ โดยร่วมกัน 7 หมู่บ้าน และผลตัวชี้วัดคือ ไข้เลือดออกที่มีจำนวนผู้ป่วยวลดลง เนื่องจากขยะในพื้นที่จำนวนลดลง ธนาคารขยะ มีการดำเนินงานมาระยะหนึ่งแล้ว และมีการรับซื้อขยะในทุกเดือน ทำให้หมู่บ้านสะอาดขึ้น มีเกณฑ์ตัวชี้วัดในการให้คะแนน  5 ตัวชี้วัด - บ้านต้องปลอดลูกน้ำยุงลาย - จัดการขยะภายใน ภายนอก - ไม่พบผู้ป่วยภายในบ้าน - เลี้ยงปลาห่างนกยูง - ปลูกพืชสวนครัว โดยต้องปลูกผักสวนครัวไม่น้อยกว่า 10 ชนิด มีการแยกขยะ ภายในและภายนอก มีการจัดการขยะโดยตนเองไม่ต้องมีรถเก็บขยะ ทั้งนี้การประกวดโครงการขยะในครัวเรือน มีระยะเวลา 5 เดือนในการให้คะแนน (สร้างถ่อ)     เน้นเรื่อง การจัดการขยะ เนื่องจากอบต. เจอปัญหาการจัดการขยะในหมู่บ้าน จึงมีการจัดการขยะโดยประชาชนในพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานรัฐ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่เห็นชัด คือ 1. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน 2.คนในหมู่บ้านรู้จักการจัดการขยะภายในครัวเรือนมากขึ้น 3. มีการจัดการน้ำขังในหมู่บ้านหรือครัวเรือนโดยตนเอง     เรื่องการส่งเสริมผู้สูงอายุ เริ่มจากการสำรวจข้อมูลของผู้ที่เกษียณราชการแล้ว จึงมีการส่งเสริมบทบาทผู้สูงอายุและมีผลตอบรับดีจึงมีถึง 6 ชมรม ทั้งนี้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนแต่ละชมรม เพื่อหาข้อต่างแต่ละชมรม นอกจากนี้มีการส่งเสริมการแยกขยะให้แก่ผู้สูงอายุ โดยการแยกขยะและแยกและล้างถุงพลาสติก โดยมีแกนนำคือผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุในชมรม มีการให้กำลังใจกัน ดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย สอดคล้องให้เห็นถึงการจัดการด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในพื้นที่ จึงได้รับการสนับสนุนจากคนรุ่งใหม่เพื่อขับเคลื่อนชมรมและการส่งเสริมผู้สูงอายุต่อไป     กิจกรรมทางกาย มีการให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายตามกำลังของตน และมีกลุ่มอสม เข้ามาขับเคลื่อนให้เกิดผลที่ง่ายขึ้นโดยการผลิตเครื่องออกกำลังกายให้แก่ผลุ่มผู้สูงอายุให้ออกกำลังเหมาะสมตามวัย และสภาพร่างกาย นอกจากนี้ยังมีการทำตารางเดนและกะลามะพร้าวมาปรับใช้ในการออกกำลังกายส่งเสริมด้านการทรงตัวของผู้สูงอายุโดยกิจกรรมทางกายในพื้นที่มีการนำการรำมาปรับใช้ในการทำกิจกรรมทางกายในทุกเดือน (หัวดอน) เป็นตำบลแรกที่ทำธรรมนูญตำบล และมีการทำเรื่องการสำรวจ PM 2.5 แต่เรื่องที่เด่นคือเรื่องผู้สูงอายุ (มีการขอข้อมูลเพิ่มเติมหลังประชุม)@19 ก.ค. 67 10:50