directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนชุมชนวัดปลักชะเมา)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนชุมชนวัดปลักชะเมา) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกชพร มุสิกะรักษ์ (0910411229)

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนชุมชนวัดปลักชะเมา)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนชุมชนวัดปลักชะเมา) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนชุมชนวัดปลักชะเมา)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนชุมชนวัดปลักชะเมา) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจภาวะโภชนาการของนักเรียน พบว่า

-มีนักเรียนร้อยละ 10 มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

-วัตถุดิบที่นำมาปรุงอาหารอาจมีสารปนเปื้อนต่างๆ เช่น ยากำจัดศัตรูพืช เป็นต้น ซึ่งไม่ปลอดภัยในการนำมาปรุงอาหารเพื่อบริโภค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนประกอบอาหาร
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดำเนินงานตามโครงการ
  2. จัดเตรียแปลงผักสวนครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 35
นักเรียนชั้นอนุบาล - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 105

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • นักเรียนในโรงเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลาดปีการศึกษา
  • นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในารทำเกษตร ด้านโภชนาการอาหาร และสุขอนามัย
  • เกิดกิจกรรมบูรณาการในโรงเรียนกับหลักสูตรการเรียนการสอน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประุชุุมคณะครูและบุคคลากร

วันที่ 18 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประุชุุมคณะครูและบุคคลากร
1.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ วัตถุประสงค์ 2.ทำข้อตกลงในการทำกิจกรรม 3.เลือกสถานที่ดำเนินงานโครงการ 4.เลือกพันธุ์ผักสวนครัวที่จะปลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต ได้เลือกพันธ์ุผักบุ้ง ผักกาด มะเขือ ถั่วฝักยาว ตงกวา โหรพา ในการทำโครงการ ได้ข้อตกลงและแนวดำเนินการโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
  • ผลลัพธ์ที่ได้คือ ข้อตกลงและแนวดำเนินการโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

 

10 0

2. จัดทำโครงการ

วันที่ 20 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำโครงการตามข้อตกลงการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เตรียมจัดทำโครงการเกษตรเพื่่ออาหารกลางวัน

 

0 0

3. ดำเนินงานตามโครงการ

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

-  จัดเตรียมสถานที่ดำเนินโครงการ -  จัดหาวัสดุและอุปกรณ์  เช่น  กะบะปลูก  ท่อซีเมนต์  เมล็ดพันธ์  เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทางโรงเรียนมีการจัดเตรียมสถานที่ดำเนินกิจกรรม และวัสดุอุปกรณ์สำหรับดำเนินกิจกรรม

 

0 0

4. จัดเตรียแปลงผักสวนครัว

วันที่ 30 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียแปลงผักสวนครัว 1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน 2.แบ่งงาน  มอบหมายความรับผิดชอบให้นักเรียนแต่ละห้อง 3.นักเรียนแต่ละห้องร่วมกันขนดินใส่กะบะปลูก 4.หว่านเมล็ดพันธุ์ผักสวนครัว 5.รดน้ำ และดูแลตามความรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิตที่เกิดขึ้น 1.นักเรียนเตรียมแปลงกะบะปลูกและหว่านเมล็ดพันธุ์ผักสวนครัว   1.1 ระดับชั้นอนุบาล 6 กะบะ   1.2 ระดับชั้นประถมศึกษา 10 กะบะ
  • ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น โรงรียนมีการเตรียมแปลงกะบะปลูกและทำการหว่านเมล็ดผักสวนครั้ว

 

110 0

5. เก็บผลผลิตผักบุ้งนักเรียน ป.1

วันที่ 10 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 10 มิถุนายน 2562 ครูและนักเรียนชั้น ป 1 ร่วมกันเก็บเกี่ยวผลผลิตผักบุ้ง 10 กิโลกรัม ผักกาดจำนวน 5 กิโลกรัม ในผักสวนครัวประเภท มะเขือ แตงกวา โหรพา ยังไม่ใหผลผลิต จึงไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและนักเรียนชั้น ป 1 ร่วมกันเก็บเกี่ยวผลผลิตผักบุ้ง 10 กิโลกรัม ผักกาดจำนวน 5 กิโลกรัม

 

17 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : มีพืชผัก ปลา สนับสนุนอาหารกลางวันของโรงเรียน
0.00 80.00
  • มีวัตถุดิบป้อนเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน - นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
  • ผลผลิตมีความปลอดภัย
  • นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง
2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : 1 นักเรียนแต่ละระดับชั้น ปลูกพืชคนละ 1 แปลงเกษตรในโรงเรียน 2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 4-5 จำนวน 35 คน เลี้ยงปลาในสระของโรงเรียน
0.00 80.00
  • มีวัตถุดิบป้อนเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน - นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
  • ผลผลิตมีความปลอดภัย
  • นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง
3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร
ตัวชี้วัด : นักรียน ครู ผู้ปกครอง ได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์แะดูแลนักเรียน
0.00 80.00
  • ครู ผู้ปกครองให้ความสำคัญเรื่องวัตถุดิบในการทำอาหารกลางวัน และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำกิจกรรมมาบูรณาการกับวิชาเรีน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 35 35
นักเรียนชั้นอนุบาล - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 105 105

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนประกอบอาหาร (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินงานตามโครงการ (2) จัดเตรียแปลงผักสวนครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนชุมชนวัดปลักชะเมา) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกชพร มุสิกะรักษ์ (0910411229) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด