directions_run

โครงการอิ่มท้องน้องมีรายได้โรงเรียนวัดเลียบ (โรงเรียนวัดเลียบ)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการอิ่มท้องน้องมีรายได้โรงเรียนวัดเลียบ (โรงเรียนวัดเลียบ) ”

ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเกษร คงชะนะ (0872975172)

ชื่อโครงการ โครงการอิ่มท้องน้องมีรายได้โรงเรียนวัดเลียบ (โรงเรียนวัดเลียบ)

ที่อยู่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอิ่มท้องน้องมีรายได้โรงเรียนวัดเลียบ (โรงเรียนวัดเลียบ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอิ่มท้องน้องมีรายได้โรงเรียนวัดเลียบ (โรงเรียนวัดเลียบ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอิ่มท้องน้องมีรายได้โรงเรียนวัดเลียบ (โรงเรียนวัดเลียบ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัจจุบันเศรษฐกิจไม่ดีผู้ปกครองต้องหารายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายภายในครอบครัวจึงไม่ค่อยมีเวลาในการดูแลบุตรหลานทำให้นักเรียน ร้อยละ 20 ของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด.นักเรียนร้อยละ 30 ของนักเรียน ไม่รับประทานอาหารเช้าในบางวัน รวมถึงวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนผู้ประกอบอาหารต้องซื้อมาจากตลาดซึ่งมีสารปนเปื้อน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรเพื่ออาหารกลางวันแก่นักเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่เช้าที่สะอาดและปลอดภัย
  3. เพื่อส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน
  4. เพื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเตรียมแปลง(ท่อซีเมนต์) ปลูกผักสวนครัว
  2. เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
  3. ปลูกผักสวนครัวและปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
  4. เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้น ป.4 - ป.6 49

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุกและเลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์

วันที่ 3 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน......14......คน เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก โดยเตรียมบ่อซีเมนต์ จำนวน ......6.....ลูก พร้อมทั้งมีการทำความสะอาดบ่อเลี้ยงโดยการแช่น้ำเปล่าผสมหยวกกล้วยทิ้งไว้ 15 วัน และใส่น้ำใหม่ปริมาณ 3/4 ของบ่อซีเมนต์ ก่อนปล่อยปลาลงบ่อ

2.แบ่งบทบาทนักเรียน จำนวน ..14....คน ในการรับผิดชอบเลี้ยงปลาดุก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนจำนวน....14......คน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และวิธีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

2.มีบ่อปลาดุก จำนวน......6.......บ่อ

3.นักเรียนมีส่วนร่วมในการเตรียมบ่อปลา

 

40 0

2. การเตรียมแปลง(ท่อซีเมนต์) และปลูกผักสวนครัว ผักกินใบ

วันที่ 10 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 43 คน ช่วยกันหว่านเม็ดผักที่แช่น้ำและห่อผ้าขาวบางเตรียมไว้ โดยแบ่งเป็นระดับชั้น ป.4 ปลูกผักบุ้ง ป.5 ปลูกผักกวางตุ้ง และ ป.6 ปลูกผักกาดขาว

2.แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบคนละ 1 แปลง

3.นักเรียนแต่ละคนรับผิดชอบในการรดน้ำ ดูแลกำจัดวัชพืชแปลงของตนเองที่ได้รับมอบหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนได้รับความรู้และได้ปฏิบัติจริงในการเตรียมแปลงปลูกผักสวนครัว

2.มีแปลงผักในรูปแบบท่อซีเมนต์ จำนวน....40.......แปลง

3.นักเรียน จำนวน..43....คน มีส่วนร่วมในการทำแปลงผักสวนครัว

5.นักเรียนมีแปลงผักสวนครัวปลอดสารพิษคนละ 1 แปลง (ท่อซีเมนต์)

 

0 0

3. เก็บผลผลิตผักปลูกผักสวนครัวส่งโครงการอาหารกลางวัน

วันที่ 10 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 43 คน ช่วยกันหว่านเม็ดผักที่แช่น้ำและห่อผ้าขาวบางเตรียมไว้ โดยแบ่งเป็นระดับชั้น ป.4 ปลูกผักบุ้ง ป.5 ปลูกผักกวางตุ้ง และ ป.6 ปลูกผักกาดขาว

2.แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบคนละ 1 แปลง

3.นักเรียนแต่ละคนรับผิดชอบในการรดน้ำ ดูแลกำจัดวัชพืชแปลงของตนเองที่ได้รับมอบหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนได้รับความรู้และได้ปฏิบัติจริงในการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ

2.นักเรียนมีแปลงผักสวนครัวปลอดสารพิษคนละ 1 แปลง (ท่อซีเมนต์)

3.นักเรียนแต่ละคนดูแล รดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ยและกำจัดวัชพืชแปลงผักที่ตนเองรับผิดชอบ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรเพื่ออาหารกลางวันแก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของผลผลิตที่ใช้ในการประกอบอาหารกลางวันแก่นักเรียน
80.00 70.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่เช้าที่สะอาดและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้า
80.00 80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของนักเรียนที่มีรายได้ระหว่างเรียน
50.00 50.00

 

4 เพื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละของนักเรียนที่เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 49
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้น ป.4 - ป.6 49

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรเพื่ออาหารกลางวันแก่นักเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่เช้าที่สะอาดและปลอดภัย (3) เพื่อส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน (4) เพื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียมแปลง(ท่อซีเมนต์) ปลูกผักสวนครัว (2) เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ (3) ปลูกผักสวนครัวและปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน (4) เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอิ่มท้องน้องมีรายได้โรงเรียนวัดเลียบ (โรงเรียนวัดเลียบ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเกษร คงชะนะ (0872975172) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด